หน้าหลัก
E-Platform
Guest   
อุทัยธานี
ปีฐาน : 2562

 

ข้อมูลสภาพการณ์ความเสี่ยง (Risk Profile) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของจังหวัด
 

การวิเคราะห์ห่วงโซ่ผลกระทบ (Impact Chain Analysis)


ตารางความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขา

ตารางแสดงความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขาทั้งหมด

   
 
 
โครงการ / เรื่อง

ด้านที่ 1

ด้านที่ 2

ด้านที่ 3

ด้านที่ 4

ด้านที่ 5

ด้านที่ 6
จัดการ

5. จัดทำแผนเตรียมความพร้อมและแนวทางการบริหารความเสี่ยงในด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยต่าง ๆเพื่อลดผลกระทบและความสูญเสียจากภัยพิบัติที่เกิดจากและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศทั้งด้านรายได้ สุขภาพ และความมั่นคง

ดูข้อมูล

4. สร้างความรู้และความตระหนักให้ประชาชน และหน่วยงานในพื้นที่ป้องกันและปรับตัวจากสถานการณ์ภัยพิบัติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เช่น การป้องกันโรคที่มาจากภัยแล้งและความร้อน การดูแลสุขภาพร่างกายและจิตใจในภาวะภัยพิบัติ

ดูข้อมูล

3. พัฒนาระบบการแจ้งเตือนภัยล่วงหน้าและการให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนเพื่อการเฝ้าระวังภัยที่เกิดจากความร้อน และการเข้าถึงข้อมูลในด้านต่าง ๆรวมถึงสถานการณ์ภัยพิบัติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

2. การอนุรักษ์และเพิ่มพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เมือง ชุมชน เช่น ส่งเสริมการปลูกต้นไม้ในพื้นที่สาธารณะ อาคาร/ที่อยู่อาศัย เป็นต้น

ดูข้อมูล

1. การพัฒนาระบบการสำรอง/กักเก็บน้ำในภาวะเผชิญภัยแล้ง เช่น การขุดสระ/บ่อเพื่อกักเก็บน้ำไว้ใช้ การสร้างธนาคารน้ำใต้ดินในระดับหมู่บ้าน การขุดหาแหล่งน้ำบาดาลเพื่อสำรองน้ำใช้

ดูข้อมูล

6. สนับสนุนกลไกการซื้อขายคาร์บอนเครดิตในพื้นที่เอกชน

ดูข้อมูล

5. ส่งเสริมกลไกสนับสนุน/มาตรการจูงใจที่เอื้อต่อการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในระดับท้องถิ่น เช่น การลดภาษีเพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวในภาคเอกชน เช่นส่งเสริมและสนับสนุน

ดูข้อมูล

4. บูรณาการร่วมหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดูแลรักษาพื้นที่ป่าให้เกิดเป็นรูปธรรม เช่น การส่งเสริมการมีส่วนร่วมการปลูกป่าร่วมกับภาคประชาชนหรือจิตอาสา/ภาคเอกชน เช่น การดำเนินโครงการ Tree bank (โครงการธนาคารต้นไม้)

ดูข้อมูล

3. ส่งเสริมการเผยแพร่องค์ความรู้ และพัฒนาเครือข่ายด้านสิ่งแวดล้อมในชุมชนและท้องถิ่นเช่น การเลือกชนิดไม้ที่เหมาะสมกับจังหวัดอุทัยธานี อบรมเยาวชนเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อลดผลกระทบด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

2. พัฒนาระบบลาดตระเวนเชิงคุณภาพเพื่อป้องกันการบุกรุกพื้นที่ป่า โดยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศในการตรวจสอบพื้นที่การบุกรุก

ดูข้อมูล

1. สนับสนุนโครงการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในระดับท้องถิ่น เช่น การส่งเสริมการฟื้นฟูพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมและทรัพยากรธรรมชาติ การเพิ่มพื้นที่ป่าเศรษฐกิจ/ป่าในเมือง/ป่าชุมชน

ดูข้อมูล

4. จัดตั้งศูนย์พื้นฟูผู้ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

3. ส่งเสริมการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ประชาชนการดูแลตนเองการป้องกันตนเอง เกี่ยวกับโรคและภัยสุขภาพ ผ่านช่องทางต่าง ๆ.

ดูข้อมูล

2. การพัฒนาและสำรวจข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มเสี่ยงในระดับพื้นที่และชุมชน

ดูข้อมูล

1. การเตรียมพร้อมด้านการแพทย์ และสาธารณสุข เช่น ยา และ เวชภัณฑ์ เครื่องมือทางการแพทย์

ดูข้อมูล

5. บูรณาการแผนงานการปรับตัวต่อความเสี่ยงจากสภาพภูมิอากาศด้านการท่องเที่ยวเข้ากับแผนของท้องถิ่น เช่น โครงการพัฒนาเมืองเก่าในพื้นที่เมืองและการส่งเสริมศิลปินพื้นบ้านเพื่อการท่องเที่ยว

ดูข้อมูล

4. การจัดอบรมและประชาสัมพันธ์เพื่อลดความเสี่ยงต่อภาวะสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงผ่านสื่อต่าง ๆ เช่น การโปรโมทการท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวที่มีคุณค่าเชิงศิลปกรรมและทางธรรมชาติ การท่องเที่ยวตามฤดูกาลการท่องเที่ยวแบบคาร์บอนต่ำ และการจัดอบรมการเป็นเจ้าบ้านที่ดีแก่ผู้นำชุมชน

ดูข้อมูล

3. การส่งเสริมการท่องเที่ยวตามฤดูกาลและหลากหลาย เช่น กาส่งเสริมการท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ เชิงวัฒนธรรม และการท่องเที่ยวคาร์บอนต่ำ เพื่อลดผลกระทบและความเสี่ยงจากภัยพิบัติที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

2. จัดทำแผนที่ท่องเที่ยวตามฤดูกาลเพื่อป้องกันและหลีกเลี่ยงความเสี่ยงจากภัยความร้อน ภัยน้ำท่วมและภัยพิบัติอื่น ๆ เช่น แผนที่แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ตามฤดูกาล เชิงวัฒนธรรม

ดูข้อมูล

1. พัฒนาและปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยวที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยงให้สอดรับกับทุกฤดูกาล เช่น พัฒนาจุดพักและสำรองแห ล่งน้ำที่เพียงพอต่อนักท่องเที่ยวในแหล่งการท่องเที่ยว

ดูข้อมูล

3. มีมาตรการช่วยเหลือผู้ประสบภัยแล้งและภัยอื่น ๆ ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตามนโยบายของภาครัฐ เช่น การจัดตั้งกองทุนให้ความช่วยเหลือผู้ที่ได้รับผลกระทบ การจัดสรรเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ และ การจัดสรรเงินประกันภัยพืชผลทางการเกษตร

ดูข้อมูล

2. ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนรูปแบบการทำการเกษตรและการเลี้ยงสัตว์น้ำให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เช่น การเลือกใช้ชนิดพันธุ์พืชที่ทนกับสภาพอากาศ การปลูกพืชใช้น้ำน้อย และจัดระบบ Zoning ในการทำปศุสัตว์

ดูข้อมูล

1. พัฒนาและปรับปรุงการจัดการน้ำของพื้นที่เกษตรกรรมในและนอกเขตชลประทานที่มีความเสี่ยงต่อการได้รับผลกระทบจากอุทกภัยให้มีประสิทธิภาพ โดยการบูรณาการการจัดการน้ำในภาคเกษตรร่วมกับภาคส่วนอื่น ๆ เช่น การเพิ่มพื้นที่กักเก็บและสำรองน้ำ การจัดทำธนาคารน้ำใต้ดิน

ดูข้อมูล

4. ผลักดันกลไกสนับสนุนและสร้างความร่วมมือของทุกภาคส่วนในการป้องกันบรรเทาและฟื้นฟูผู้ที่ได้รับกระทบด้านภาวะภัยแล้งจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ เช่น การพักชำระหนี้กับผู้ที่ได้รับผลกระทบ การจัดตั้งกองทุนเพื่อความต่อเนื่องช่วงภัยพิบัติ

ดูข้อมูล

3. พัฒนาระบบการเฝ้าระวังภัยพิบัติที่สืบเนื่องจากสภาพภูมิอากาศในพื้นที่เสี่ยงและการเผยแพร่ข้อมูลให้ประชาชนในพื้นที่ด้านการบริหารจัดการสาธารณภัยเบื้องต้น เช่น ข้อมูลการรณรงค์อนุรักษ์น้ำเพื่อป้องกันภัยแล้งแก่ประชาชนในพื้นที่ ทางสื่อออนไลน์เพจ Facebookก] กลุ่ม ไลน์ เพื่อเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์ตั้งแต่ระดับครัวเรือนระดับพื้นที่จนถึงระดับจังหวัด

ดูข้อมูล

2. พัฒนาโครงการ/โครงสร้างพื้นฐานเพื่ออนุรักษ์พื้นที่ต้นน้ำ สร้างแหล่งเก็บน้ำ

ดูข้อมูล

1. พัฒนาโครงการกักเก็บน้ำฝนระดับพื้นที่/ระดับครัวเรือน เช่น การพัฒนาธนาคารน้ำใต้ดินระดับหมู่บ้าน

ดูข้อมูล
 
 

ข้อมูลสภาพการณ์ความเสี่ยง (Risk Profile) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของจังหวัด
 
ข้อมูลฐานพื้นที่

ข้อมูลฐานพื้นที่

01 ข้อมูลพื้นฐานพื้นที่_อุทัยธานี.xlsx

แบบประเมินรายการความเสี่ยง

แบบประเมินรายการความเสี่ยง

02 แบบประเมินรายการความเสี่ยง_อุทัยธานี.xlsx

Risk Profile Checklist

Risk Profile Checklist

03 Risk Profile Checklist_อุทัยธานี.xlsx