หน้าหลัก
E-Platform
Guest   
อำนาจเจริญ
ปีฐาน : 2562

 

ข้อมูลสภาพการณ์ความเสี่ยง (Risk Profile) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของจังหวัด
 

การวิเคราะห์ห่วงโซ่ผลกระทบ (Impact Chain Analysis)


ตารางความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขา

ตารางแสดงความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขาทั้งหมด

   
 
 
โครงการ / เรื่อง

ด้านที่ 1

ด้านที่ 2

ด้านที่ 3

ด้านที่ 4

ด้านที่ 5

ด้านที่ 6
จัดการ

1. พัฒนาการจัดทำ Water footprint และระบบข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณน้ำต้นทุนและความต้องการใช้น้ำของผู้ใช้น้ำในภาคส่วนต่างๆ

ดูข้อมูล

2. ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายและวางแผนการใช้ประโยชน์ที่ดิน การจัดการน้ำ และป่าในแต่ละลุ่มน้ำ

ดูข้อมูล

3. ส่งเสริมให้เกิดการผสานภูมิปัญญาท้องถิ่นร่วมกับการจัดการน้ำสมัยใหม่ที่เหมาะสมกับการบริหารจัดการน้ำตามบริบทของแต่ละภูมิภาค

ดูข้อมูล

4. เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน้ำต้นทุน และแหล่งกักเก็บน้ำโดยกำหนดสัดส่วนการใช้น้ำในกิจกรรมต่างๆ ให้เหมาะสมกับปริมาณน้ำท่าและน้ำที่กักเก็บในแต่ละลุ่มน้ำ

ดูข้อมูล

5. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในการเตรียมรับมือกับอุทกภัยที่มีความสอดคล้องและเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ระบบนิเวศ และชุมชน

ดูข้อมูล

6. พัฒนาระบบสถานการณ์น้ำ และเตือนภัยล่วงหน้า (early Warning system)

ดูข้อมูล

7. สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังภัยพิบัติในพื้นที่ที่มีความเสี่ยง

ดูข้อมูล

1. พัฒนาระบบข้อมูลเตือนภัยล่วงหน้า (Early warning system) ทางการเกษตร

ดูข้อมูล

2. จัดทำแผนที่พื้นที่เกษตรเสี่ยงภัย และคาดการณ์ ผลกระทบจาก การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในระดับพื้นที่

ดูข้อมูล

3. สนับสนุนการสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการเกษตรในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

4. สร้างความตระหนักรู้ต่อเกษตรกรถึงผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคเกษตร และพัฒนาศักยภาพในการรับมือและจัดการความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

5. พัฒนาและปรับปรุงการจัดการน้ำของพื้นที่เกษตรกรรมในเขตชลประทานที่มีความเสี่ยงต่อการได้รับผลกระทบจากอุทกภัยและภัยแล้งให้มีประสิทธิภาพ

ดูข้อมูล

1. จัดทำแผนที่เสี่ยงจากภัยพิบัติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของแหล่งท่องเที่ยว และพัฒนาระบบเตือนภัยพิบัติที่มีประสิทธิภาพ

ดูข้อมูล

2. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของแหล่งท่องเที่ยวที่สอดคล้องกับระบบนิเวศและวัฒนธรรมท้องถิ่น เพื่อลดผลกระทบจากภัยพิบัติ และลดความเสี่ยงจากสภาพอากาศ

ดูข้อมูล

3. สร้างความตระหนักและเสริมสร้างความสามารถของผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ในการลดผลกระทบและรับมือกับความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

4. พัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวในรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อสนับสนุนเพิ่มความคุ้มกันและลดความเสี่ยงต่อผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในพื้นที่ท่องเที่ยวที่มีศักยภาพ

ดูข้อมูล

1. พัฒนางานวิจัยองค์ความรู้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการลดและจัดการความเสี่ยงต่อสุขภาพที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

2. ป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพของชุมชนในพื้นที่เสี่ยงและประชากรกลุ่มเสี่ยง

ดูข้อมูล

3. พัฒนากลไกความร่วมมือทุกภาคส่วนทั้งในและนอกระบบสาธารณสุขในการบริหารและจัดการเพื่อป้องกันและลดผลกระทบต่อสุขภาพจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

4. เสริมสร้างศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขในทุกระดับเพื่อรับมือผลกระทบการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในเชิงรุก

ดูข้อมูล

5. ปรับปรุงระบบประกันสุขภาพให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพครอบคลุม ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่มีความอ่อนไหวต่อปัจจัยทางภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

6. พัฒนาขีดความสามารถของหน่วยงานและบุคลากรสาธารณสุขในการลดและแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

1. สงวนและคุ้มครองพื้นที่ป่าอนุรักษ์ที่ยังคงมีสภาพป่าสมบูรณ์โดยให้ความสำคัญกับการอนุรักษ์และบริหารจัดการกลุ่มป่าการปลูกป่าเป็นแนวเชื่อมต่อระหว่างป่า (Ecological corridor) การปลูกป่าเป็นแนวกันชน (Buffer)

ดูข้อมูล

2. สนับสนุนการปลูกป่าและเพิ่มพื้นที่ป่าในพื้นที่บุกรุกหรือทำลายป่าต้นน้ำที่เสื่อมโทรมหรือพื้นที่ว่างนอกเขตป่าธรรมชาติ

ดูข้อมูล

3. สนับสนุนการอนุรักษ์พันธุ์เฉพาะถิ่นและชนิดพันธุ์ที่ใกล้สูญพันธุ์รวมทั้งป้องกันชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่อาจแพร่ระบาดเพิ่มมากขึ้นจากสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป

ดูข้อมูล

4. สนับสนุนและส่งเสริมกลไกการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิเวศต่างๆ

ดูข้อมูล

5. พัฒนากลไกลที่ช่วยส่งเสริมบทบาทของชุมชนที่มีวิถีชีวิตเชิงนิเวศในการสงวนรักษาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

ดูข้อมูล

6. ส่งเสริมความร่วมมือจากภาคเอกชนและภาคประชาชนในการสงวนรักษาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ

ดูข้อมูล

7. พัฒนาเครือข่ายเฝ้าระหวังพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดไฟป่าโดยสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน

ดูข้อมูล

8. สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังและติดตามตัวชี้วัดความสมบูรณ์ของระบบนิเวศ (Biological indicators)

ดูข้อมูล

1. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็นและมีความหลากหลายในการรองรับภาวะฉุกเฉินอันเนื่องมาจากภัยธรรมชาติในทุกพื้นที่เสี่ยงและทำแผนรับมือภัยธรรมชาติในภาวะฉุกเฉิน

ดูข้อมูล

2. ผลักดันท้องถิ่นบูรณาการประเด็นด้านการปรับตัวและรับมือกับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเข้ากับแผนและยุทธศาสตร์การพัฒนาเมือง ชุมชนและท้องถิ่น

ดูข้อมูล
 
 

ข้อมูลสภาพการณ์ความเสี่ยง (Risk Profile) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของจังหวัด
 
ข้อมูลฐานพื้นที่

ข้อมูลฐานพื้นที่

(1) ข้อมูลพื้นฐานพื้นที่_อำนาจเจริญ..xlsx

แบบประเมินรายการความเสี่ยง

แบบประเมินรายการความเสี่ยง

[2] แบบประเมินรายการความเสี่ยง_อำนาจเจริญ.xlsx

Risk Profile Checklist

Risk Profile Checklist

[3] Risk Profile Checklist_อำนาจเจริญ.xlsx