ข้อมูลสภาพการณ์ความเสี่ยง (Risk Profile) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของจังหวัด
การวิเคราะห์ห่วงโซ่ผลกระทบ (Impact Chain Analysis)
ตารางความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขา
ตารางแสดงความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขาทั้งหมด
โครงการ / เรื่อง | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ด้านที่ 1 |
ด้านที่ 2 |
ด้านที่ 3 |
ด้านที่ 4 |
ด้านที่ 5 |
ด้านที่ 6 |
จัดการ | |
1. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เช่น สร้างแนวพนังกั้นน้ำ |
ดูข้อมูล | ||||||
2. พัฒนาระบบการระบายน้ำ เช่น การขุดลอกคูคลองและปรับปรุงโครงสรา้ งที่กีดขวางทางน้ำ |
ดูข้อมูล | ||||||
3. การจัดการพื้นที่ต้นน้ำและสร้างแหล่งกักเก็บน้ำเพิ่มเติม |
ดูข้อมูล | ||||||
4. สร้างระบบเครือข่ายการแจ้งเตือนและกลไกการเฝ้าระวังสถานการณ์ |
ดูข้อมูล | ||||||
1. การให้ความรู้ด้านการบริหารจัดการสาธารณภัยเบื้องต้น เช่น การจัดฝึกอบรมการบริหารจัดการน้ำแบบมีส่วนร่วม การจัดทำแผนอพยพ และจัดตั้งศูนย์พักพิง |
ดูข้อมูล | ||||||
2. สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังภัยพิบัติที่สืบเนื่องจากสภาพภูมิอากาศในพื้นที่เสี่ยง โดยการเสริมสร้างศักยภาพชุมชนในการเตรียมความพร้อมตั้งแต่ระดับครัวเรือน ระดับลุ่มน้ำไปจนถึงระดับประเทศ |
ดูข้อมูล | ||||||
1. มาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวกับการจัดการภัยพิบัติอุทกภัย เช่น การบังคับใช้กฎหมายการรุกล้ำที่สาธารณประโยชน์ และการบังคับกฎหมายเกี่ยวกับพื้นที่รองรับน้ำ |
ดูข้อมูล | ||||||
2. การช่วยเหลือหลังประสบเหตุอุทกภัย เช่น พักการชำระหนี้กับผู้ที่ได้รับผลกระทบ |
ดูข้อมูล | ||||||
1. พัฒนาและปรับปรุงการจัดการน้ำของพื้นที่เกษตรกรรมในและนอกเขตชลประทานที่มีความเสี่ยงต่อการได้รับผลกระทบจากอุทกภัยและภัยแล้งให้มีประสิทธิภาพ โดยการบูรณาการการจัดการน้ำในภาคเกษตรร่วมกับภาคส่วนอื่น ในการกำหนดกรอบการใช้ประโยชน์จากน้ำ และลดปัญหาการแย่งชิงน้ำ การปรับปรุงทางระบายน้ำ ขุดลอกคูคลอง สำรองที่สูบน้ำ เครื่องจักรกลทางการเกษตร |
ดูข้อมูล | ||||||
2. ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิตพืชรูปแบบการทำการเกษตรและการเลี้ยงสัตว์น้ำให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เช่น การปรับปฏิทินการเพาะปลูกเพื่อลดความเสียหายจากอุทกภัย ภัยแล้งและภัยพิบัติต่างๆ การปลูกพืชใช้น้ำน้อยในฤดูแล้งการเลือกชนิดพันธุ์พืชที่เหมาะสมเพื่อให้ทนกับสภาพน้ำท่วม/เลือกพันธุ์ข้าวอายุสั้นเพื่อให้ทันต่อการเก็บเกี่ยว |
ดูข้อมูล | ||||||
3. ส่งเสริมระบบการปลูกพืชแบบผสมผสานหรือพืชหมุนเวียน เพื่อลดความเสี่ยงและความเสียหายจากสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป |
ดูข้อมูล | ||||||
4. จัดทำแผนที่พื้นที่เกษตรเสี่ยงภัยและคาดการณ์ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในระดับพื้นที่ และเผยแพร่ให้เกษตรกรสามารถเข้าถึงข้อมูลและใช้ประโยชน์ได้ |
ดูข้อมูล | ||||||
1. สนับสนุนการสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการเกษตรในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เพื่อร่วมมือกันในการเฝ้าระวัง เตือนภัย และประเมินความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรวมทั้งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรมทางการเกษตร และเชื่อมโยงองค์ความรู้สู่บริบทของชุมชน |
ดูข้อมูล | ||||||
2. สร้างความตระหนักรู้ต่อเกษตรกร ถึง ผลกระทบจากกา รเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคเกษตร และพัฒนาศักยภาพในการรับมือและจัดการความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
1. มีมาตรการช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วม/ ตามนโยบายภาครัฐ |
ดูข้อมูล | ||||||
2. จัดทำโครงการช่วยเหลือเกษตรกรเพื่อช่วยเหลือฟื้นฟูหลังน้ำลด |
ดูข้อมูล | ||||||
3. สถาบันทางการเงินช่วยเหลือในการพิจารณาให้กู้ในอัตราดอกเบี้ยต่ำ |
ดูข้อมูล | ||||||
1. ระบบแจ้งเตือนภัยล่วงหน้าและการตอบสนองในสถานการณ์ฉุกเฉิน เชื่อมโยงกับระบบบริหารจัดการน้ำของท้องถิ่น |
ดูข้อมูล | ||||||
2. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เช่น สร้างแนวพนังกั้นน้ำ ติดตั้งอุปกรณ์เครื่องสูบน้ำในแหล่งท่องเที่ยวเสี่ยงภัย เช่นแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม |
ดูข้อมูล | ||||||
1. การจัดการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวตามฤดูกาลและหลากหลายแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
2. การสร้างการรับรู้และให้ความรู้ภัยพิบัติน้ำท่วมให้แก่ผู้ประกอบการและผู้ที่เกี่ยวข้องในแหล่งท่องเที่ยว |
ดูข้อมูล | ||||||
3. การสร้างการรับรู้และให้ความรู้ภัยพิบัติน้ำท่วมให้แก่ผู้ประกอบการและผู้ที่เกี่ยวข้องในแหล่งท่องเที่ยว |
ดูข้อมูล | ||||||
1. แนวทางการบริหารความเสี่ยงในแหล่งท่องเที่ยวและการจัดการความเสี่ยงในด้านต่างๆและผลกระทบจากภัยพิบัติ |
ดูข้อมูล | ||||||
2. แนวทางและกฎหมายเพื่อการบรรเทาภัยพิบัติ และฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติและการเปลี่ยนสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
3. มาตรการกองทุนช่วยเหลือผู้ประกอบการการท่องเที่ยว การชดเชยค่าความเสียหาย |
ดูข้อมูล | ||||||
1. เตรียมความด้านทรัพยากรเวชภัณฑ์ ยาระบบ Logistics การดูแลผู้ป่วย และการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยในช่วงเกิดภัยพิบัติการควบคุมโรค การพื้นฟูผู้ป่วยในระยะหลังน้ำท่วม |
ดูข้อมูล | ||||||
2. จัดทำแผนเตรียมความพร้อมทั้ง 3 ระยะได้แก่ ระยะก่อนน้ำท่วม ระยะเกิดภัยน้ำท่วม และระยะหลังน้ำท่วม รวมถึงจัดทำแผนการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านโรคและภัยสุขภาพ |
ดูข้อมูล | ||||||
3. การสำรวจข้อมูลพื้นฐานกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเปราะบางในระดับพื้นที่และชุมชน |
ดูข้อมูล | ||||||
1. ให้ความรู้ประชาชนการดูแลตนเอง การป้องกันตนเอง เกี่ยวกับโรคและภัยสุขภาพผ่านช่องทางต่างๆ |
ดูข้อมูล | ||||||
2. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดูเเลตนเอง การป้องกันตนเอง เกี่ยวกับโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
1. พรบ. พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 |
ดูข้อมูล | ||||||
2. กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการชดเชยความเสียหายแก่ผู้เสียหายจากการบำบัดภยันตรายจากสาธารณภัย |
ดูข้อมูล | ||||||
3. จัดตั้งศูนย์โต้ตอบเหตุฉุกเฉินและระบบรองรับ รวมถึงเงินทุนสนับสนุนต่อเนื่อง |
ดูข้อมูล | ||||||
1. การเพิ่มพื้นที่สีเขียวในท้องถิ่น การส่งเสริมโครงการปลูกป่าเพื่ออนุรักษ์ฟื้นฟู ป่าต้นน้ำ ป่าชายเลน และป้องกันไฟป่า (ในที่ดินของรัฐเพื่อการอนุรักษ์อย่างยั่งยืน) โครงการส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม (ในที่ดินกรรมสิทธิ์) โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี |
ดูข้อมูล | ||||||
2. ส่งเสริมการศึกษาวิจัยผลกระทบจากปัจจัยภูมิอากาศที่มีต่อระบบนิเวศต่าง ๆรวมทั้งชนิดพันธุ์พืชและสัตว์ เพื่อสร้างองค์ความรู้ในการรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ส่งผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ |
ดูข้อมูล | ||||||
3. การจัดหาปรับปรุงพันธ์พืช พันธุ์สัตว์ที่มีความทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
1. การพัฒนาองค์ความรู้เครือข่ายด้านสิ่งแวดล้อมในชุมชนและท้องถิ่น |
ดูข้อมูล | ||||||
2. อบรมการเพาะชำกล้าไม้ การเลือกชนิดไม้ที่เหมาะสมกับจังหวัดอ่างทอง |
ดูข้อมูล | ||||||
3. อบรมเยาวชนเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ |
ดูข้อมูล | ||||||
4. กิจกรรมให้ความรู้เรื่องคาร์บอนเครดิตการรณรงค์ตัดไม้ 1 ต้น ปลูก 3 ต้น |
ดูข้อมูล | ||||||
5. ส่งเสริมและพัฒนาชุมชนที่มีวิถีชีวิตเชิงนิเวศ ( Eco-villages) ให้สามารถอยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างกลมกลืน และเพิ่มบทบาทของชุมชนในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสนับสนุนให้มีการจัดตั้งกลไกระดับชุมชนเพื่อการจัดการการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน |
ดูข้อมูล | ||||||
6. ส่งเสริมความร่วมมือจากภาคเอกชนและภาคประชาชนในการสงวนรักษาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ ผ่านแนวทางการดำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility : CSR) เช่น การปลูกป่าในพื้นที่เอกชน |
ดูข้อมูล | ||||||
1. การแก้ไขกฎหมายและระเบียบที่เอื้อต่อการส่งเสริมการปลูกต้นไม้ เพิ่มพื้นที่สีเขียวสาธารณะระดับท้องถิ่น |
ดูข้อมูล | ||||||
2. มาตรการจูงใจในการลดภาษีเพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวในภาคเอกชน |
ดูข้อมูล | ||||||
3. การสนับสนุนแหล่งเงินทุนจากสถาบันการเงิน ธนาคาร การใช้ต้นไม้เป็นหลักทรัพย์ค้ำประกันเงินกู้ของประชาชนในโครงการธนาคารต้นไม้ของ ธกส. |
ดูข้อมูล | ||||||
1. การพัฒนาระบบการสำรอง/กักเก็บน้ำในภาวะเผชิญภัยแล้ง เช่น ติดตั้งถังกักเก็บน้ำเพื่อการเกษตร |
ดูข้อมูล | ||||||
2. การปรับปรุงและพัฒนาแหล่งน้ำ เช่น ขุดลอกแหล่งน้ำ/เพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำ |
ดูข้อมูล | ||||||
3. การอนุรักษ์และเพิ่มพื้นที่สีเขียว |
ดูข้อมูล | ||||||
1. ส่งเสริมการให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนผ่านระบบการแจ้งเตือน / การประกาศภัยพิบัติ |
ดูข้อมูล | ||||||
2. ส่งเสริมการจัดตั้ง ศูนย์เตือนภัยและเฝ้าระวังสถานการณ์ทางสังคม การแจ้งเตือนภัย การเฝ้าระวัง และการเข้าถึงข้อมูลในด้านต่างๆรวมถึงสถานการณ์ภัยพิบัติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
3. สร้างความรู้และความตระหนักให้ประชาชนด้านการปรับตัวและลดผลกระทบจากภัยน้ำท่วม |
ดูข้อมูล | ||||||
4. สร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยการมีข้อตกลงและธรรมนูญชุมชนร่วมกัน เช่น การเฝ้าระวัง การให้ข้อมูล การช่วยเหลือในกรณีประสบภัยพิบัติ |
ดูข้อมูล | ||||||
1. กฎหมายเพื่อการบรรเทาภัยพิบัติ เช่น งบปราณจัดาสรรการช่วยเหลือผู้ประสบภัย |
ดูข้อมูล | ||||||
2. กฎหมายผังเมือง |
ดูข้อมูล |