ข้อมูลสภาพการณ์ความเสี่ยง (Risk Profile) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของจังหวัด
การวิเคราะห์ห่วงโซ่ผลกระทบ (Impact Chain Analysis)
ตารางความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขา
ตารางแสดงความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขาทั้งหมด
โครงการ / เรื่อง | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ด้านที่ 1 |
ด้านที่ 2 |
ด้านที่ 3 |
ด้านที่ 4 |
ด้านที่ 5 |
ด้านที่ 6 |
จัดการ | |
1. จัดทำแผนที่เสี่ยงภัยและคาดการณ์ผลกระทบด้านการจัดการน้ำจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในระดับพื้นที่ |
ดูข้อมูล | ||||||
2. เพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำโดยการปรับปรุงสิ่งกีดขวางทางน้ำการปรับปรุงลำน้ำธรรมชาติรางน้ำสาธารณะที่ตีบแคบและตื้นเขิน |
ดูข้อมูล | ||||||
1. จัดหาพัฒนาพื้นที่รองรับการอพยพสำหรับสัตว์เลี้ยงหากเผชิญเหตุน้ำท่วม |
ดูข้อมูล | ||||||
1. สนับสนุนให้มีการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว หรือสถานบริการรองรับนักท่องเที่ยวที่มีการออกแบบ ประยุกต์ใช้ รวมถึงการบริหารจัดการในแหล่งท่องเที่ยว/สถานบริการที่สามารถปรับตัวและรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมมิอากาศได้ เช่น การออกแบบอาคารและสิ่งปลูกสร้างที่ลดพลังงาน การใช้อุปกรณ์ประหยัดพลังงาน การพึ่งพาพลังงานที่สะอาดได้เอง การสำรองน้ำฝน การเก็บน้ำเพื่อใช้ในสถานบริการ การหมุนเวียนทรัพยากรกลับมาใช้ใหม่ การเพิ่มพื้นที่สีเขียวและอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ และการสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับเกษตรกรในชุมชนในการผลิตอาหารที่ปลอดภัยและใช้กระบวนการผลิตที่คาร์บอนต่ำเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวและสร้างการตระหนักรู้ถึงการรับมือ/ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศให้กับนักท่องเที่ยว เป็นต้น |
ดูข้อมูล | ||||||
1. พัฒนาศักยภาพประชาชนให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักในเรื่องผลกระทบต่อสุขภาพจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการแก้ไขปัญหาและปรับตัวภายใต้ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้อย่างเหมาะสม |
ดูข้อมูล | ||||||
1. สนับสนุนการปลูกป่าและเพิ่มพื้นที่ป่า ในพื้นที่ป่าที่ถูกบุกรุกหรือทำลาย ป่าต้นน้ำที่เสื่อมโทรม หรือพื้นที่ว่างนอกเขตป่าธรรมชาติ |
ดูข้อมูล | ||||||
1. พัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดไฟป่าโดยสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน |
ดูข้อมูล | ||||||
1. การศึกษาการเปลี่ยนแปลงระดับน้ำโขงที่ส่งผลกระทบต่อการสูญเสียที่ดินริมตลิ่ง พันธุ์ไม้ริมตลิ่ง ต้นไคร้ที่เกาะโขดหิน ระบบนิเวศแก่งหินจากการขึ้นลงของน้ำที่ผิดปกติทำให้น้ำท่วมนานเกินไป หรือแห้งแล้งนานเกินไป และการขึ้นลงของน้ำอย่างฉับพลัน รวมถึงปัจจัยเร่งจากอุตสาหกรรมดูดทรายในแม่น้ำโขง และกรณีน้ำแล้งมากส่งผลให้อุณหภูมิน้ำสูงเกินไปทำให้ความสมบูรณ์ของระบบสืบพันธุ์ของปลาได้รับผลกระทบ เช่น ไข่ฝ่อในช่วงฤดูผสมพันธุ์ (ปลายี่สกไทย) |
ดูข้อมูล | ||||||
1. การเพิ่มความหนาแน่นของต้นไม้โดยใช้พันธุ์ไม้พื้นถิ่นในพื้นที่ป่าต้นน้ำหรือพื้นที่ต้นน้ำที่เสื่อมโทรม หรือมีเกษตรกรเข้าทำกิน โดยปลูกไม้ให้มีความหนาแน่น ช่วยยึดเกาะตลิ่ง ป้องกัน ชะลอน้ำหลาก |
ดูข้อมูล | ||||||
2. การสำรวจ สะพาน ถนนชำรุด ทางน้ำที่ชำรุดเสียหายจากภัยพิบัติเพื่อออกแบบและจัดทำใหม่ให้สามารถรองรับภัยพิบัติได้ดีกว่าเดิม เช่น การสร้างพนังกัน ตลิ่ง จาก การกัดเซาะ ในพื้นที่เสี่ยงสูง การออกแบบสะพานที่กว้างขึ้น หรือเพิ่มช่องทางน้ำลอดผ่านถนนให้มากขึ้น การพื้นที่รับน้ำที่รองรับน้ำได้ในปริมาณมากขึ้นและลดความแรงของกระแสน้ำลง การทำทางเบนน้ำหรือระบบการป้องกันน้ำท่วมใน พื้นที่ ชุมชน พื้นที่ การเกษตร กรรมมิให้ เสียหาย การ กำหนดพื้นที่เยียวยาเพื่อให้เป็นพื้นที่ รับน้ำ หรือทางน้ำผ่าน การกระจายน้ำ เบนทางน้ำ ไปยังไปยัง พื้นที่เสี่ยงต่ำ หรือพื้นที่ปลอดภัยใน ลุ่มน้ำอื่น การผันน้ำจากพื้นที่เสี่ยงไปยัง ลำห้วยที่มีศักยภาพในการระบายน้ำได้ดีกว่าหรือเหมาะสมกว่า หรือมีความเสี่ยงน้อยกว่า เป็นต้น |
ดูข้อมูล | ||||||
3. จัดทำข้อกำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินที่สงวนรักษาพื้นที่มีคุณค่าทางธรรมชาติและความมั่นคงของระบบนิเวศ รวมถึงเพื่อป้องกันภัยพิบัติ เช่น ป่าอนุรักษ์ พื้นที่ชุมชน พื้นที่เกษตรกรรม ที่อยู่ใกล้เคียงกับป่าอนุรักษ์ แหล่งน้ำธรรมชาติ การอนุรักษ์พื้นที่สีเขียว เพื่อคุ้มครองพื้นที่และป้องกันผลกระทบอันเกิดจากการทำถนนผ่านพื้นที่ป่าที่อาจจะขวางกั้นทางน้ำ การลดการกัดเซาะตามธรรมชาติและการพังทลายของหน้าดิน การฟื้นฟูพื้นที่ดินเปิดโล่งจากการปลูกพืชไร่ การขอใช้พื้นที่ป่าเพื่อเป็นศาสนสถาน ชุมชนที่อยู่อาศัยและใช้ประโยชน์จากป่าที่ต้องมีมาตรการข้อกำหนด หรือข้อตกลงในการใช้พื้นที่อย่างเหมาะสม |
ดูข้อมูล |