หน้าหลัก
E-Platform
Guest   
สุรินทร์
ปีฐาน : 2562

 

ข้อมูลสภาพการณ์ความเสี่ยง (Risk Profile) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของจังหวัด
 

การวิเคราะห์ห่วงโซ่ผลกระทบ (Impact Chain Analysis)


ตารางความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขา

ตารางแสดงความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขาทั้งหมด

   
 
 
โครงการ / เรื่อง

ด้านที่ 1

ด้านที่ 2

ด้านที่ 3

ด้านที่ 4

ด้านที่ 5

ด้านที่ 6
จัดการ

การส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายและวางแผนการใช้ประโยชน์ที่ดิน การจัดการน้ำและป่าในลุ่มน้ำ

ดูข้อมูล

การส่งเสริมให้เกิดการผสานภูมิปัญญาท้องถิ่นร่วมกับการจัดการน้ำโดยใช้นวัตกรรมที่เหมาะสมกับการบริหารจัดการน้ำตามบริบทของจังหวัด

ดูข้อมูล

การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน้ำต้นทุนและแหล่งกักเก็บน้ำ โดยกำหนดสัดส่วนการใช้น้ำในกิจกรรมต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับปริมาณน้ำท่าและน้ำกักเก็บในลุ่มน้ำ

ดูข้อมูล

การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในการเตรียมรับมือกับอุทกภัยที่มีความสอดคล้องกับสภาพพื้นที่ ระบบนิเวศ และชุมชน

ดูข้อมูล

การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสำหรับสำรองน้ำฝนและจัดสรรน้ำในพื้นที่ประสบภัยแล้งซ้ำซาก พื้นที่นอกเขตชลประทาน และพื้นที่ที่ยังใช้น้ำบาดาล

ดูข้อมูล

การสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังภัยพิบัติในพื้นที่เสี่ยง โดยการเสริมสร้างศักยภาพชุมชนในการเตรียมความพร้อมตั้งแต่ระดับครัวเรือน ไปจนถึงระดับจังหวัด

ดูข้อมูล

การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน้ำใต้ดินร่วมกับการใช้น้ำผิวดินในพื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง

ดูข้อมูล

การจัดทำแผนป้องกันและลดมลพิษในกรณีอุทกภัยในพื้นที่เสี่ยง

ดูข้อมูล

การพัฒนาระบบช่วยเหลือ ชดเชย หรือระบบประกันภัยพิบัติที่เกี่ยวข้องกับการจัดการน้ำ

ดูข้อมูล

การจัดทำแผนที่พื้นที่เกษตรเสี่ยงภัยและคาดการณ์ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในระดับจังหวัด และเผยแพร่ให้เกษตรกรสามารถเข้าถึงข้อมูลและใช้ประโยชน์ได้

ดูข้อมูล

การส่งเสริมการปรับเปลี่ยนรูปแบบการทำการเกษตรให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

การพัฒนาการจัดการระบบปศุสัตว์และการผลิตสินค้าจากปศุสัตว์ให้สอดคล้องกับแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

การสร้างความตระหนักรู้ต่อเกษตรกรถึงผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคเกษตร และพัฒนาศักยภาพในการรับมือและจัดการความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

การส่งเสริมการปรับปรุงพันธุ์พืช สัตว์ และสนับสนุนการเข้าถึงของเกษตรกรให้สามารถใชพั้นธุ์พืช สัตว์ที่เหมาะสมต่อการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยทางภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

การพัฒนาและปรับปรุงการจัดการน้ำของพื้นที่เกษตรกรรมในเขตชลประทานที่มีความเสี่ยงต่อการได้รับผลกระทบจากอุทกภัยและภัยแล้งให้มีประสิทธิภาพ

ดูข้อมูล

การพัฒนาแหล่งน้ำในพื้นที่เกษตรกรรมนอกเขตชลประทานให้มีประสิทธิภาพและเพียงพอต่อความต้องการใช้การเพาะปลูกและการทำปศุสัตว์

ดูข้อมูล

การส่งเสริมการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และบำรุงรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดินในพื้นที่เกษตรกรรมที่มีความเสื่อมโทรมของดิน

ดูข้อมูล

การส่งเสริมการจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจ (Agro-economics Zone) ที่มีความเหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่

ดูข้อมูล

การจัดทำแผนที่เสี่ยงจากภัยพิบัติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของแหล่งท่องเที่ยว และพัฒนาระบบเตือนภัยพิบัติที่มีประสิทธิภาพ

ดูข้อมูล

การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของแหล่งท่องเที่ยวที่สอดคล้องกับระบบนิเวศและวัฒนธรรมท้องถิ่น เพื่อลดผลกระทบจากภัยพิบัติ และลดความเสี่ยงจากสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

การปรับปรุงปฏิทินการท่องเที่ยวให้สอดคล้องกับฤดูกาลที่เปลี่ยนแปลงไป

ดูข้อมูล

การสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังและแจ้งเตือนภัยด้านการท่องเที่ยวในการรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

การสร้างความตระหนักและเสริมสร้างขีดความสามารถของผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในการลดผลกระทบและรับมือความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

การพัฒนารูปแบบการทอ่งเที่ยวในพื้นที่เสี่ยง ที่คำนึงถึงศักยภาพในการรองรับของพื้นที่ (carrying capacity) ที่เหมาะสมกับสภาพของอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป

ดูข้อมูล

การพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวในรูปแบบที่หลากหลายเพื่อสนับสนุนการเพิ่มภูมิคุ้มกันและลดความเสี่ยงต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในพื้นที่ท่องเที่ยวที่มีศักยภาพ

ดูข้อมูล

การเพิ่มขีดความสามารถของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดการรูปแบบการท่องเที่ยวเพื่อรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

การป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพของชุมชนในพื้นที่เสี่ยงและประชากรกลุ่มเสี่ยง

ดูข้อมูล

การพัฒนากลไกความร่วมมือทุกภาคส่วน ทั้งในและนอกระบบสาธารณสุข ในการบริหารจัดการเพื่อป้องกันและผลกระทบต่อสุขภาพจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

การเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขในทุกระดับเพื่อรับมือผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในเชิงรุก

ดูข้อมูล

การพัฒนาขีดความสามารถของหน่วยงานและบุคลากรสาธารณสุขในการลดและแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

การสงวนและคุ้มครองพื้นที่ป่าอนุรักษ์ที่ยังคงมีสภาพป่าสมบูรณ์ โดยให้ความสำคัญกับการอนุรักษ์และบริหารจัดการกลุ่มป่า การปลูกป่าเป็นแนวเชื่อมต่อระหว่างป่า (Ecological corridor) การปลูกป่าเป็นแนวกันชน (Buffer)

ดูข้อมูล

การสนับสนุนการปลูกป่าและเพิ่มพื้นที่ป่า ในพื้นที่ป่าถูกบุกรุกหรือทำลาย ป่าต้นน้ำที่เสื่อมโทรม หรือพื้นที่ว่างนอกเขตป่าธรรมชาติ

ดูข้อมูล

การสนับสนุนและส่งเสริมกลไกการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิเวศต่างๆ

ดูข้อมูล

การผลักดันการประกาศเขตคุ้มครองในพื้นที่มีความเปราะบางเชิงนิเวศ และเสี่ยงต่อการถูกคุกคามความหลากหลายทางชีวภาพที่อยู่นอกเขตป่าอนุรักษ์

ดูข้อมูล

การพัฒนาระบบฐานข้อมูล การคาดการณ์ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศต่อระบบนิเวศและทรัพยากรธรรมชาติ

ดูข้อมูล

การพัฒนาระบบติดตามและประเมินตัวชี้วัดความสมบูรณ์ของระบบนิเวศ (Biological indicators) ของระบบนิเวศต่างๆ ให้ครอบคลุมพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่ทั่วจังหวัด

ดูข้อมูล

การพัฒนากลไกที่ช่วยส่งเสริมบทบาทของชุมชนที่มีวิถีชีวิตเชิงนิเวศในการสงวนรักษาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนิเวศ และความหลากหลายทางชีวภาพ

ดูข้อมูล

การส่งเสริมและพัฒนาชุมชนที่มีวิถีชีวิตเชิงนิเวศ (Eco-villages) ให้สามารถอยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างกลมกลืน และเพิ่มบทบาทของชุมชนในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ

ดูข้อมูล

การส่งเสริมความร่วมมือจากภาคเอกชนและภาคประชาชนในการสงวนรักษาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพผ่านแนวทางการดำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม

ดูข้อมูล

การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดไฟป่าโดยสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน โดยการเพิ่มศักยภาพเครือข่ายประชาชนในการป้องกันและควบคุมไฟป่า

ดูข้อมูล

การสร้างเครือข่ายการเฝ้าระวังและติดตามตัวชี้วัดความสมบูรณ์ของระบบนิเวศ

ดูข้อมูล

การสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและเพิ่มขีดความสามารถให้กับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องโดยใช้หลักการปรับตัวโดยอาศัยระบบนิเวศ (Ecosystem-based Adaptation หรือ EbA) ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและการใช้ความหลากหลายทางชีวภาพ และประโยชน์ต่างๆ จากระบบนิเวศ

ดูข้อมูล

การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็นและมีความหลากหลายในการรองรับภาวะฉุกเฉินอันเนื่องมาจากภัยธรรมชาติในพื้นที่เสี่ยง รวมถึงจัดทำแผนรับมือภัยธรรมชาติในภาวะฉุกเฉินโดยกระบวนการมีส่วนร่วม

ดูข้อมูล

การพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพระบบการแจ้งเตือนภัยล่วงหน้า (Early Warning System) และข้อมูลความเสี่ยงต่อภัยพิบัติในจังหวัดสุรินทร์ โดยที่ประชาชนสามารถเข้าถึงได้

ดูข้อมูล

การบูรณาการประเด็นด้านการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเข้ากับการจัดทำผังเมืองในจังหวัด

ดูข้อมูล

การพัฒนาและจัดทำแผนในการสำรองระบบที่มีความจำเป็นในการดำรงชีวิตในกรณีเกิดภัยพิบัติหรือภาวะวิกฤติ

ดูข้อมูล

การผลักดันให้ท้องถิ่นบูรณาการประเด็นด้านการปรับตัวและรับมือกับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เข้ากับแผนและยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด

ดูข้อมูล

การเพิ่มขีดความสามารถของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการเตรียมความพร้อมและบริหารจัดการความเสี่ยงจากผลกระทบการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

การพัฒนาศักยภาพของชุมชนในการเฝ้าระวัง แจ้งเตือนภัย เผชิญภัย ระงับภัย รวมถึงการช่วยเหลือและฟื้นฟูหลังเกิดภัยในพื้นที่เสี่ยง

ดูข้อมูล

การสนับสนุนให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้มีรายได้น้อยที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สามารถเข้าถึงความช่วยเหลือในรูปแบบต่างๆ และได้รับความเป็นธรรม

ดูข้อมูล

การสร้างความตระหนักรู้ให้แก่ชุมชนและภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเข้าใจถึงความเสี่ยง และผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล
 
 

ข้อมูลสภาพการณ์ความเสี่ยง (Risk Profile) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของจังหวัด
 
ข้อมูลฐานพื้นที่

ข้อมูลฐานพื้นที่

01 ข้อมูลพื้นฐานพื้นที่_สุรินทร์.xlsx

แบบประเมินรายการความเสี่ยง

แบบประเมินรายการความเสี่ยง

02 แบบประเมินรายการความเสี่ยง_สุรินทร์.xlsx

Risk Profile Checklist

Risk Profile Checklist

03 Risk Assessment checklist_สุรินทร์.xlsx