หน้าหลัก
E-Platform
Guest   
สิงห์บุรี
ปีฐาน : 2562

 

ข้อมูลสภาพการณ์ความเสี่ยง (Risk Profile) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของจังหวัด
 

การวิเคราะห์ห่วงโซ่ผลกระทบ (Impact Chain Analysis)


ตารางความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขา

ตารางแสดงความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขาทั้งหมด

   
 
 
โครงการ / เรื่อง

ด้านที่ 1

ด้านที่ 2

ด้านที่ 3

ด้านที่ 4

ด้านที่ 5

ด้านที่ 6
จัดการ

2. ปรับปรุงข้อกำหนด/ระเบียบที่สอดคล้องกับข้อกฏหมายผังเมือง เพื่อการบรรเทาภัยพิบัติ เช่น การห้ามสร้างสิ่งปลูกสร้างกีดขวางทางน้ำ การจัดรูปที่ดิน

ดูข้อมูล

1. จัดทำแผนเตรียมความพร้อมและแนวทางการบริหารความเสี่ยงในด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยต่างๆ และผลกระทบจากภัยพิบัติที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (ครอบคลุม 6 อำเภอ 41 อปท.)

ดูข้อมูล

2. สร้างความรู้และความเข้าใจให้ประชาชนและหน่วยงานในพื้นที่ป้องกันและปรับตัวจากสถานการณ์ภัยพิบัติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เช่น การป้องกันโรคที่มาจากภัยน้ำท่วม การดูแลสุขภาพร่างกายและจิตใจภาวะพิบัติ

ดูข้อมูล

1. ส่งเสริมการรพัฒนาระบบการแจ้งเตือนภัยล่วงหน้า/การประกาศภัยพิบัติให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนนเพื่อการเฝ้าระวังและการเข้าถึงข้อมูลในด้านต่างๆ รวมถึงสถานการณ์ภัยพิบัติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

2. การอนุรักษ์และเพิ่มพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เมือง ชุมชน

ดูข้อมูล

1. พัฒนาและปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน เช่น สร้างแนวพนังกั้นน้ำรอบพื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก สร้างระบบกั้นน้ำกัดเซาะ พื้นที่กักเก็บ/รองรับน้ำ การปรับรูปแบบการสรางบ้าน เช่น การยกพื้นสูง

ดูข้อมูล

2. การสนับสนุนแหล่งเงินทุนจากสถาบันการเงินธนาคาร เพื่อการส่งเสริมการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในระดับพ้นที่ เช่น การใช้ต้นไม้เป็นหลักทรัพย์ค้ำประกันเงินกู้ของประชาชนในโครงการธนาคารต้นไม้ของ ธกส.

ดูข้อมูล

1. ส่งเสริมกลไกสนับสนุน/มาตรการจูงใจที่เอื้อต่อการเพิ่มพื้นที่สีเขียวมนระดับท้องถิ่น เช่น การลดภาษีเพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวในภาคเอกชน

ดูข้อมูล

2. ส่งเสริมและสร้างความร่วมมือในระดับชุมชนหน่วยงานและองค์กรต่างๆ ให้รักษาและเพิ่มพื้นที่สีเขียวในที่ดินกรรมสิทธิ์ สนับสนุนให้มีการจัดตั้งกลไกระดับชุมชนเพื่อการจัดการการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างยืน

ดูข้อมูล

1. ส่งเสริมการเผยแพร่องค์ความรู้ และพัฒนาเครือข่ายด้านสิ่งแวดล้อมในชุมชนและท้องถิ่น เช่น บรมการเพาะชำกล้าไม้ การเลือกชนิดไม้ที่เหมาะสมกับจังหวัดสิงห์บุรี อบรมเยาวชนเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อลดลกระทบด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

2. ปรับเปลี่ยนรูปแบบการปลูกชนิดพันธุ์ไม้ เช่น การใช้พันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ที่มีความทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

1. การเพิ่มพื้นที่สีเขียวในท้องถิ่น การส่งเสริม โครงการปลูกป่าเพื่ออนุรักษ์ฟื้นฟู โครงการวัดต้นไม้ประจำปีของชาติ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ โครงการส่งเสริมการจัดการป่าชุมชน

ดูข้อมูล

2. พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 และกฏกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการชดเชยความเสียหายแก่ผู้เสียหายจากการบำบัดภยันตรายจากสาธารณภัย

ดูข้อมูล

1. จัดตั้งศูนย์โต้ตอบเหตุฉุกเฉินและระบบรองรับ รวมถึงเงินทุนสนับสนุนต่อเนื่อง

ดูข้อมูล

2.  สร้างการมีส่วนร่วมของเครือข่ายประชาชน อพม. อสม. อาสาสมัครบริบาลในการดูแลตนเอง การป้องกันตนเองเกี่ยวกับโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

1.  ส่งเสริมการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ประชาชนการดูแลตนเอง การป้องกันตนเอง เกี่ยวกับโรคและภัยสุขภาพผานช่องทางต่างๆ

ดูข้อมูล

3. จัดทำแผนเตรียมความพร้อมการป้องกันและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านโรคและภัยสุขภาพ เช่น มีการบริการสาธารณสุขเคลื่อนที่เพื่อเพิ่มการเข้าถงกลุ่มเปราะบางในภาวะเกิดภัยพิบัติ

ดูข้อมูล

2. การสำรวจข้อมูลพื้นฐานกลุ่มเสี่ยงในระดับพื้นที่และชุมชน

ดูข้อมูล

1. เตรียมความด้านทรัพยากรเวชภัณฑ์ เครื่องมือทางการแพทย์ ยา ระบบ Logistics การดูแลผู้ป่วย

ดูข้อมูล

2. มาตรการกองทุนช่วยเหลือนักท่องเที่ยวและผุ้ประกอบการการท่องเที่ยว การชดเชยค่าความเสียหายที่เกิดจากภัยพิบัติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

1. จัดทำแผนเตรียมความพร้อมและแนวทางการบริหารความเสี่ยงในแหล่งท่องเที่ยวและการจัดการความเสี่ยงในด้านต่างๆ และผลกระทบจากภัยพิบัติ

ดูข้อมูล

2. การรณรงค์การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของชุมชนและนักท่องเที่ยวเพื่อลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เช่น การท่องเที่ยวและวิถีชุมชนคาร์บอนต่ำลดการก่อให้เกิดขยะมูลฝอยและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

ดูข้อมูล

1. การส่งสริมการท่องเที่ยวตามฤดูกาลและหลากหลาย แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์และเชิงวัฒนธรรม ลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

2. จัดทำแผนที่ท่องเที่ยวตามฤดูกาล และแผนที่แหล่งท่องเที่ยว/การคมนาคม เพื่อป้องกันและหลีกเลี่ยงเส้นทางน้ำในพื้นที่เสี่ยงเกิดอุทกภัยซ้ำซาก

ดูข้อมูล

1. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐฐาน เช่น สร้างแนวพนังกั้นน้ำ ติดตั้งอุปกรณืเครื่องสูบน้ำในแหล่งท่องเที่ยวเสี่ยงภัย เช่น แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

ดูข้อมูล

3. จัดทำโรงการช่วยเหลือเกษตรกรเพื่อช่วยเหลือฟื้นฟูหลังน้ำลด

ดูข้อมูล

2. จัดทำแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในระดับอำเภอ และ อปท.

ดูข้อมูล

1. มีการช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วมตามนโยบายภาครัฐ

ดูข้อมูล

1. ส่งเสริมศักยภาพบุคลากรและประชาชนในพื้นที่ด้านการบริหารการจัดการสาธารณภัยเบื้องต้น การพัฒนาระบบเฝาระวังและเตือนภัยการเกิดอุทกภัย เช่น การจัดฝกอบรม การบริหารการจัดการน้ำแบบมีส่วนร่วม การจัดทำแผนอพยพ และการใช้เทคโนโลยีในการแจ้งเตือนเหตุอุทกภัย

ดูข้อมูล

2. พัฒนาและปรับปรุงการจัดการน้ำของพื้นที่เกษตตรกรรมในและนอกเขตชลประทานที่มีความเสี่ยงต่อการได้รับผลกระทบจากอุทกภัยให้มีประสิทธิภาพโดยการบูรณาการการจัดการน้ำในภาคเกษตรรร่วมกับภาคส่วนอื่น เช่น การปรับปรุงทางระบายน้ำ ขุดลอก คู คลอง สำรองที่สูบน้ำ เครื่องจักรกลทางการเกษตร

ดูข้อมูล

1. ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนรูปแบบการทำการเกษตรรและการเลี้ยงสัตว์น้ำให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ แช่น การใช้พันธุ์ข้าวอายุสั้นเพื่อให้ทันต่อการเก็บเกี่ยวการเลือกชนิดพันธุ์พื้นให้เหมาะสมเพื่อให้ทนกับสภาพนำท่วม และการปรับปฎิทินการเพาะปลูกเพื่อลดความเสียหายจากอุทกภัย

ดูข้อมูล

1. ผลักดันกลไกลสนับสนุนและสร้างความร่วมมือของทุกภาคส่วนในการป้องกันบรรเทาและฟื้นฟูผู้ที่ได้รับกระทบด้านภาวะภัยน้ำท่วมจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ เช่น การจัดตั้งกองทุนเพื่อความต่อเนื่องช่วงภัยพิบัติ การส่งเสริมให้มีการประกันภัย รวมถึงการสนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาเทคโนโลยีในการจัดการน้ำ

ดูข้อมูล

2.  สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังภัยพิบัติที่สืบเนื่องจากสภาพภูมิอากาศในพื้นเสี่ยง โดยการเตรียมความพร้อมตั้งแต่ระดับครัวเรือน ระดับลุ่มน้ำไปถึงระดับจังหวัด

ดูข้อมูล

1.  พัฒนาศักยภาพบุคลากรและประชาชนในพื้นที่ด้านการบริหารจัดการสาธารณภัยเบื้องต้น การเฝ้าระวังและเตือนภัยการเกิดอุทกภัย เช่น การจัดฝึกอบรมการบริหารจัดการน้ำแบบมีส่วนร่วมการจัดทำแผนอพยพ และการใช้เทคโนโลยีในการแจ้งเตือนเหตุอุทกภัย

ดูข้อมูล

2. พัฒนาระบบเทคโนโลยีเพื่อแจ้งเตือนเหตุอุทกภัย และกลไกลการเฝ้าระวังสถานการณ์

ดูข้อมูล

1. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เช่น สร้างแนวพนังกั้นน้ำ พื้นที่รองรับน้ำและพื้นที่กักเก็บน้ำ

ดูข้อมูล
 
 

ข้อมูลสภาพการณ์ความเสี่ยง (Risk Profile) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของจังหวัด
 
ข้อมูลฐานพื้นที่

ข้อมูลฐานพื้นที่

01_ข้อมูลพื้นฐานพื้นที่_สิงห์บุรี.xlsx

แบบประเมินรายการความเสี่ยง

แบบประเมินรายการความเสี่ยง

02 แบบประเมินรายการความเสี่ยง_สิงห์บุรี.xlsx

Risk Profile Checklist

Risk Profile Checklist

03 Risk Profile Checklist_สิงห์บุรี.xlsx