หน้าหลัก
E-Platform
Guest   
สระแก้ว
ปีฐาน : 2562

 

ข้อมูลสภาพการณ์ความเสี่ยง (Risk Profile) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของจังหวัด
 

การวิเคราะห์ห่วงโซ่ผลกระทบ (Impact Chain Analysis)


ตารางความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขา

ตารางแสดงความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขาทั้งหมด

   
 
 
โครงการ / เรื่อง

ด้านที่ 1

ด้านที่ 2

ด้านที่ 3

ด้านที่ 4

ด้านที่ 5

ด้านที่ 6
จัดการ

5. การบูรณาการหน่วยงานและการสร้างภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตควบคู่ไปกับการปรับตัวต่อภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแก่ เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไป

ดูข้อมูล

4. สร้างความรู้และความตระหนักให้ประชาชน และหน่วยงานในพื้นที่ป้องกันและปรับตัวจากสถานการณ์ภัยพิบัติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เช่น การป้องกันโรคที่มาจากภัยแล้งและความร้อน การดูแลสุขภาพร่างกายและจิตใจในภาวะภัยพิบัติ

ดูข้อมูล

3. การส่งเสริมให้ประชาชนในจังหวัดสระแก้วมีความรู้ความเข้าใจและสามารถปรับตัวต่อภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศทั้งในระยะสั้นและระยะยาว

ดูข้อมูล

2. การสนับสนุนโครงการสร้างอาชีพสร้างรายได้ ที่สอดคล้องและเหมาะสม เพื่อลดความเสี่ยงจากอาชีพที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

1. การส่งเสริมการบริหารจัดการนํ้าขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความมั่นคงและยั่งยืน

ดูข้อมูล

4. บูรณาการความร่วมมือ โดยการจัดทำบันทึกความเข้าใจ (MOU) ว่าด้วยความร่วมมือโครงการพัฒนาพื้นที่ปลูกบำรุงรักษา และระบบนิเวศป่าไม้ เพื่อลดผลกระทบด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ระหว่าง ภาคเอกชน/ชุมชนกับกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

ดูข้อมูล

3. สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการรณรงค์การป้องกันไฟป่าและดูแลรักษาพื้นที่ป่าให้เกิดเป็นรูปธรรม ผ่านเครือข่าย อส.อส. ด้านการแก้ไขปัญหาไฟป่า หมอกควัน ภัยแล้งและภัยอื่น ๆ

ดูข้อมูล

2. การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน และพัฒนาเครือข่ายด้านสิ่งแวดล้อมในชุมชนและท้องถิ่น เช่น โครงการครูป่าไม้ และโครงการส่งเสริมและพัฒนาการเรียนการสอนกิจกรรมครูป่าไม้ อบรมเยาวชนเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อลดผลกระทบด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

1. สนับสนุนโครงการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและพื้นที่ป่าในระดับจังหวัด เช่น การส่งเสริมการฟื้นฟูพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมและทรัพยากรธรรมชาติ การเพิ่มพื้นที่ป่าเศรษฐกิจ/ป่าในเมือง/ป่าชุมชน การเพิ่มพื้นที่สีเขียวในพื้นที่สาธารณะและชุมชน

ดูข้อมูล

3. พัฒนาระบบบริการสาธารณสุขเพื่อรองรับผลกระทบต่อสุขภาพจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

2. การอบรมให้ความรู้ประชาชน โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเปราะบางในการป้องกันตนเองเกี่ยวกับโรคและภัยจากความร้อนและการดูแลรักษาสุขภาพจากภาวะสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง

ดูข้อมูล

1. การเตรียมความพร้อมด้านทรัพยากร เวชภัณฑ์ และการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับผลกระทบจากภัยความร้อน

ดูข้อมูล

6. สนับสนุนกลไกและมาตรการช่วยเหลือผู้ได้รับผลด้านการท่องเที่ยวจากภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ เช่น การจัดตั้งศูนย์บรรเทาหรือให้ความช่วยเหลือผู้ประกอบการ/นักท่องเที่ยวที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

5. การจัดอบรมพัฒนาความรู้ด้านการท่องเที่ยวเพื่อรองรับความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศให้กับเจ้าหน้าที่/ชุมชน/ผู้เกี่ยวข้องที่เกี่ยวข้องกับสถานที่ท่องเที่ยว

ดูข้อมูล

4. การส่งเสริมการท่องเที่ยวตามฤดูกาลและหลากหลาย เช่น การส่งเสริมการท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ เชิงวัฒนธรรมและการท่องเที่ยวคาร์บอนตํ่าเพื่อลดผละกระทบและความเสี่ยงจากภัยพิบัติที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

3. การพัฒนาระบบการแจ้งเตือนเมื่อมีอุณหภูมิร้อนจัด ฝุ่นควันที่เป็นอันตรายในสถานที่ท่องเที่ยว

ดูข้อมูล

2. จัดทำแผนที่ท่องเที่ยวตามฤดูกาล เพื่อป้องกันและหลีกเลี่ยงความเสี่ยงจากภัยความร้อน ภัยน้ำท่วมและภัยพิบัติอื่นๆ เช่น แผนที่แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ตามฤดูกาล เชิงวัฒนธรรม

ดูข้อมูล

1. พัฒนาและปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยวที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยงเพื่อรองรับความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ เช่นพัฒนาจุดพักและสำรองแหล่งนํ้าที่เพียงพอต่อนักท่องเที่ยว จุดแจ้งเตือนภัย และการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในแหล่งท่องเที่ยว

ดูข้อมูล

6. สนับสนุนมาตรการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยแล้งและภัยอื่น ๆ ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตามนโยบายของภาครัฐ เช่น การจัดทำโครงการช่วยเหลือผู้ประสบภัยแล้งทางการเกษตร โครงการประกันพืชผลทางการเกษตรจากภาวะภัยแล้ง เป็นต้น

ดูข้อมูล

5. อบรมเกษตรกรและประชาชนให้มีความพร้อมต่อการรับมือและปรับตัวต่อการเกิดภัยแล้งจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเช่น การส่งเสริมการปลูกพื้นถิ่นและส่งเสริมการอุปโภค-บริโภคอาหารท้องถิ่นตามฤดูกาล การปลูกพืชใช้นํ้าน้อย การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการประหยัดนํ้าเป็นต้น

ดูข้อมูล

4. ส่งเสริมการจัดทำฐานข้อมูลพื้นที่เสี่ยงประสบภัยแล้งซํ้าซากและปฏิทินการเกษตรตามฤดูกาลเพื่อปรับเปลี่ยนรูปแบบการทำการ เกษตรในแต่ละพื้นที่ให้เหมาะสมกับสภาพอากาศและปริมาณนํ้า

ดูข้อมูล

3. การปรับปรุงและเพิ่มแหล่งกักเก็บนํ้า และการบริหารจัดการนํ้าที่มีประสิทธิภาพ เช่น การลดการสูญเสียนํ้าใช้ในภาคการเกษตรและปศุสัตว์ โดยมีการประเมินถึงความคุ้มทุนทางเศรษฐศาสตร์ร่วมด้วย

ดูข้อมูล

2. การส่งเสริมการพัฒนาประยุกต์ใช้เทคโนโลยีประหยัดนํ้า เช่น smart farmingในพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจที่มีมูลค่าสูง

ดูข้อมูล

1. ส่งเสริมให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนรูปแบบการเกษตรกรรมและการทำปศุสัตว์ให้สอดคล้องกับภาวะภัยแล้งและภาวะการณ์เปลี่ยนแปลงสภาพกาศ เช่น การปลูกพืชใช้นํ้าน้อย การส่งเสริมโครงการปลูกพืชเศรษฐกิจ การส่งเสริมการเลี้ยงสัตว์ใช้นํ้าน้อยจำพวกปลาอายุสั้น เป็นต้น

ดูข้อมูล

3.สนับสนุนมาตรการและกลไกด้านการเงินเพื่อการป้องกันบรรเทาและฟื้นฟูผู้ที่ได้รับกระทบด้านภาวะภัยแล้งจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศเช่น การจัดเก็ค่าธรรมเนียมการใช้นํ้าในภาวะประสบภัยแล้งที่ต่างจากภาวะปกติ และการจัดสรรค่าช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากภาวะภัยแล้ง

ดูข้อมูล

2.การส่งเสริมการสร้างความเข้มแข็งกลุ่มผู้ใช้นํ้า ในด้านการสร้างจิตสำนึก การให้ความรู้ด้านการใช้นํ้า และส่งเสริมการปลูกพืชหมุนเวียน/พืชใช้นํ้าน้อยและการนำนํ้ากลับมาใช้ใหม่

ดูข้อมูล

1.พัฒนาพื้นที่กักเก็บนํ้า ทั้งต้นนํ้ากลางนํ้า ปลายนํ้า และพัฒนา/ปรับปรุงที่ดินเพื่อก่อสร้างแหล่งกักเก็บนํ้า และซ่อม/สร้างภาชนะกักเก็บนํ้า รวมทั้งขยายเขตประปา

ดูข้อมูล
 
 

ข้อมูลสภาพการณ์ความเสี่ยง (Risk Profile) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของจังหวัด
 
ข้อมูลฐานพื้นที่

ข้อมูลฐานพื้นที่

(1) ข้อมูลพื้นฐานพื้นที่_สระแก้ว.xlsx

แบบประเมินรายการความเสี่ยง

แบบประเมินรายการความเสี่ยง

(2) แบบประเมินรายการความเสี่ยง_สระแก้ว.xlsx

Risk Profile Checklist

Risk Profile Checklist

(3) Risk Profile Checklist_สระแก้ว.xlsx