ข้อมูลสภาพการณ์ความเสี่ยง (Risk Profile) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของจังหวัด
การวิเคราะห์ห่วงโซ่ผลกระทบ (Impact Chain Analysis)
ตารางความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขา
ตารางแสดงความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขาทั้งหมด
โครงการ / เรื่อง | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ด้านที่ 1 |
ด้านที่ 2 |
ด้านที่ 3 |
ด้านที่ 4 |
ด้านที่ 5 |
ด้านที่ 6 |
จัดการ | |
1. การพัฒนาแหล่งกักเก็บน้ำจืดหรือติดตั้งระบบผลิตน้ำจืดจากน้ำทะเล สำหรับเป็นแหล่งน้ำต้นทุน เพื่อใช้ในการอุปโภค-บริโภค และการเกษตรในพื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง และ/หรือขาดแคลนน้ำ เช่น พื้นที่การเกษตรพื้นที่ราบ หรือพื้นที่เกาะ (เกาะหลีเป๊ะ เกาะสาหร่าย เกาะบุโหลน เป็นต้น) |
ดูข้อมูล | ||||||
2. การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดสรรน้ำ การปรับปรุงระบบคลองส่งน้ำ ใช้ในการอุปโภค-บริโภค และการเกษตรเพื่อเพิ่มการเข้าถึงแหล่งน้ำในพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งและ/หรือขาดแคลนน้ำ เช่น พื้นที่การเกษตรพื้นที่ราบ พื้นที่เกาะ |
ดูข้อมูล | ||||||
1. การยกระดับศักยภาพองค์กรผู้ใช้น้ำ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการอุทกภัยและภัยแล้งอย่างมีประสิทธิภาพ ในระดับท้องถิ่น |
ดูข้อมูล | ||||||
1. การพัฒนาศักยภาพด้านการรับมือความเสี่ยงและการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศให้แก่กลุ่มเกษตรกร (การจัดการน้ำในระดับแปลง การส่งเสริมพันธุ์พืชที่มี ความทนทานและเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ การปรับตัวการเลี้ยงสัตว์น้ำ/ ปลาในกระชัง เป็นต้น) |
ดูข้อมูล | ||||||
2. การศึกษาและพัฒนารูปแบบการจัดการไม้ผล ไม้ยืนต้นและอื่นๆ เพื่อลดผลกระทบจากการระบาดของโรคที่มีความสัมพันธ์กับ การเปลี่ยนแปลงของอากาศ (ความชื้น) (เช่น ใบร่วงชนิดใหม่ในยางพารา โรครากเน่าโคนเน่าในทุเรียน โรคลำต้นเน่าในปาล์มน้ำมัน (Ganoderma Boninense)) |
ดูข้อมูล | ||||||
1. โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ เพื่อการอุปโภค-บริโภคในแหล่งท่องเที่ยวสำคัญบนเกาะ พื้นที่ชายฝั่ง และพื้นที่บนบก |
ดูข้อมูล | ||||||
1. การเสริมสร้างความตระหนักและศักยภาพการรับมือ ความเสี่ยงและการปรับตัวต่อ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ให้แก่ผู้ประกอบการการท่องเที่ยว (เช่น การเสริมสร้างความตระหนักและการกำหนดมาตรฐานความปลอดภัย ในการเดินเรือและกิจกรรมท่องเที่ยวในช่วงมรสุม เป็นต้น) |
ดูข้อมูล | ||||||
1. การพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการร้านอาหารในชุมชนและแหล่งท่องเที่ยว เพื่อยกระดับการจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำให้ได้ตามมาตรฐาน |
ดูข้อมูล | ||||||
2. การเสริมสร้าง ความตระหนักและการพัฒนาระบบการติดตาม และการควบคุม การระบาดของโรคที่มีความสัมพันธ์ กับการเปลี่ยนแปลงของอากาศ (เช่น โรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ โรคที่มากับน้ำและความชื้น) |
ดูข้อมูล | ||||||
1. การจัดทำโครงสร้างอ่อน และ/หรือปรับปรุงภูมิทัศน์ตามแนว ลำคลองเพื่อป้องกันการกัดเซาะตลิ่งหรือฟื้นฟูตลิ่งริมคลองสายหลัก (พื้นที่คลองละงู คลองดุสน คลองท่าแพ เป็นต้น) |
ดูข้อมูล | ||||||
1. การจัดทำมาตรการป้องกันการกัดเซาะและฟื้นฟูชายฝั่งทะเลอย่างยั่งยืน (เช่น หาดราไว ตำบลขอนคลาน อำเภอทุ่งหว้า เป็นต้น) |
ดูข้อมูล | ||||||
2. โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพันธุ์พืช สัตว์ทะเลหายากและรักษาความหลากหลาย ทางชีวภาพในพื้นที่ป่า พื้นที่ริมคลอง พื้นที่ป่าชายเลน |
ดูข้อมูล | ||||||
3. โครงการพัฒนา ศักยภาพอาสาสมัครและเครือข่าย ด้านสิ่งแวดล้อมระดับจังหวัด |
ดูข้อมูล | ||||||
1. การเพิ่มขีดความสามารถของระบบระบายน้ำในพื้นที่ ประสบอุทกภัยซ้ำซาก (พื้นที่เขตเมืองสตูล พื้นที่ลุ่มต่ำริมคลองสายหลัก เช่น คลองละงู คลองดุสน เป็นต้น) |
ดูข้อมูล | ||||||
1. การเพิ่มขีดความสามารถของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการเตรียมความพร้อม เพื่อรับมืออุทกภัย (การเตรียมความพร้อม การเตือนภัย และเฝ้าระวัง) |
ดูข้อมูล | ||||||
2. การเสริมสร้างศักยภาพของเครือข่ายชุมชนและเยาวชนใน การรับมือภัยพิบัติ |
ดูข้อมูล | ||||||
3. การจัดเตรียมปัจจัยพื้นฐานที่จำเป็นต่อการรับมือของกลุ่มเปราะบางในพื้นที่เสี่ยงอุทกภัย (ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ป่วยติดเตียง ครัวเรือนรายได้น้อย รวมถึงกลุ่มชาติพันธุ์ อูรักลาโว้ย พื้นที่เกาะหลีเป๊ะ บุโหลน ลังกาวี อาดัง และมานิ ในพื้นที่อำเภอละงู อำเภอทุ่งหว้า อำเภอมะนัง อำเภอเมือง |
ดูข้อมูล |