หน้าหลัก
E-Platform
Guest   
ศรีสะเกษ
ปีฐาน : 2562

 

ข้อมูลสภาพการณ์ความเสี่ยง (Risk Profile) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของจังหวัด
 

การวิเคราะห์ห่วงโซ่ผลกระทบ (Impact Chain Analysis)


ตารางความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขา

ตารางแสดงความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขาทั้งหมด

   
 
 
โครงการ / เรื่อง

ด้านที่ 1

ด้านที่ 2

ด้านที่ 3

ด้านที่ 4

ด้านที่ 5

ด้านที่ 6
จัดการ

1. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสำหรับสำรองน้ำฝน และจัดสรรน้ำในพื้นที่ประสบภัยแล้งซ้ำซาก พื้นที่นอกเขตชลประทานและพื้นที่ที่ยังใช้น้ำบาดาล

ดูข้อมูล

2. อนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งน้ำธรรมชาติโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน

ดูข้อมูล

3. จัดทำแผนที่เสี่ยงภัยและคาดการณ์ผลกระทบด้านการจัดการน้ำจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในระดับจังหวัด

ดูข้อมูล

4. สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังภัยพิบัติที่สืบเนื่องจากสภาพภูมิอากาศในพื้นที่เสี่ยง โดยการเสริมสร้างศักยภาพชุมชนในการเตรียมความพร้อมตั้งแต่ระดับครัวเรือน ระดับอำเภอ และจังหวัดเพื่อเฝ้าระวัง เตือนภัย เตรียมการรับมือ และปรับตัวต่อภัยแล้ง รวมถึงจัดทำแผนซักซ้อมเมื่อเกิดสถานการณ์เพี่อเตรียมรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉินจากภัยแล้ง

ดูข้อมูล

5. เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน้ำใต้ดินร่วมกับการใช้น้ำผิวดินในพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งตามศักยภาพของแหล่งน้ำควบคู่กับการกำหนดสัดส่วนการใช้น้ำในกิจกรรมต่าง ๆ

ดูข้อมูล

6. เพิ่มประสิทธิภาพในการบำบัดและควบคุมการระบายน้ำเสียออกสู่สิ่งแวดล้อม

ดูข้อมูล

1. ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิตพืชให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เช่น การปรับปฏิทินการเพาะปลูกเพื่อลดความเสียหายจากภัยแล้ง การปลูกพืชใช้น้ำน้อยในฤดูแล้ง

ดูข้อมูล

2. ส่งเสริมระบบการปลูกพืชแบบผสมผสานหรือพืชหมุนเวียน เพื่อลดความเสี่ยงและความเสียหายจากสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น อุทกภัย ภัยแล้ง การระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืช เป็นต้น

ดูข้อมูล

3. พัฒนาและปรับปรุงการจัดการน้ำของพื้นที่เกษตรกรรมในเขตชลประทานที่มีความเสี่ยงต่อการได้รับผลกระทบจากภัยแล้งให้มีประสิทธิภาพ โดยการบูรณาการการจัดการน้ำในภาคเกษตรร่วมกับภาคส่วนอื่น ในการกำหนดกรอบการใช้ประโยชน์จากน้ำ และลดปัญหาการแย่งชิงน้ำ

ดูข้อมูล

4. พัฒนาแหล่งน้ำในพื้นที่เกษตรกรรมนอกเขตชลประทานให้มีประสิทธิภาพและเพียงพอต่อความต้องการใช้การเพาะปลูก เช่น การปรับปรุงระบบสำรองน้ำฝน การพัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็กในไร่นา

ดูข้อมูล

5. ส่งเสริมการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และบำรุงรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดินในพื้นที่เกษตรกรรมที่มีความเสื่อมโทรมของดิน เพื่อเพิ่มผลผลิตต่อหน่วยเสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร และสามารถนำพื้นที่มาใช้ประโยชน์ทางเกษตรกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพเช่น การปลูกพืชคลุมดิน ไม่ไถพรวนการเลือกระบบการปลูกพืชที่เหมาะสมกับชนิดของดินและสภาพอากาศ

ดูข้อมูล

6. สร้างความตระหนักรู้ต่อเกษตรกรถึงผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคเกษตร และพัฒนาศักยภาพในการรับมือและจัดการความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

1. เพิ่มขีดความสามารถในการป้องกันและดูแลสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงด้านสุขภาพ

ดูข้อมูล

2. พัฒนาศักยภาพประชาชนให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความตระหนักในเรื่องผลกระทบต่อสุขภาพจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการแก้ไขปัญหาและปรับตัวภายใต้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้อย่างเหมาะสม

ดูข้อมูล
 
 

ข้อมูลสภาพการณ์ความเสี่ยง (Risk Profile) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของจังหวัด
 
ข้อมูลฐานพื้นที่

ข้อมูลฐานพื้นที่

1 ข้อมูลพื้นฐานจังหวัด_ศรีสะเกษ.xlsx

แบบประเมินรายการความเสี่ยง

แบบประเมินรายการความเสี่ยง

2 แบบประเมินรายการความเสี่ยง_ศรีสะเกษ.xlsx

Risk Profile Checklist

Risk Profile Checklist

3 Risk Profile Checklist_ศรีสะเกษ.xlsx