หน้าหลัก
E-Platform
Guest   
ระยอง
ปีฐาน : 2562

 

ข้อมูลสภาพการณ์ความเสี่ยง (Risk Profile) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของจังหวัด
 

การวิเคราะห์ห่วงโซ่ผลกระทบ (Impact Chain Analysis)


ตารางความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขา

ตารางแสดงความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขาทั้งหมด

   
 
 
โครงการ / เรื่อง

ด้านที่ 1

ด้านที่ 2

ด้านที่ 3

ด้านที่ 4

ด้านที่ 5

ด้านที่ 6
จัดการ

1. มาตรการอนุรักษ์และฟื้นฟูสภาพแหล่งน้ำที่เสื่อมโทรมและป้องกันการพังทลายของดิน

ดูข้อมูล

2. มาตรการส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และชุมชนในพื้นที่แหล่งกักเก็บน้ำในการกำหนดนโยบายและวางแผนการใช้ประโยชน์ที่ดิน

ดูข้อมูล

3. มาตรการส่งเสริมการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ เพื่อใช้เป็นกลไกและแรงจูงใจให้แก่ชุมชนในพื้นที่ต้นน้ำในการดูแล และรักษาระบบนิเวศ

ดูข้อมูล

1. มาตรการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในการเตรียมรับมือกับอุทกภัยที่มีความสอดคล้องและเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ระบบนิเวศ และชุมชน

ดูข้อมูล

2. มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำ

ดูข้อมูล

3. มาตรการพัฒนาระบบป้องกันน้ำท่วมในเขตเมือง

ดูข้อมูล

4. มาตรการจัดทำแผนป้องกันและลดมลพิษในกรณีอุทกภัยในพื้นที่เสี่ยง

ดูข้อมูล

1. มาตรการพัฒนาการจัดทำ Water footprint และระบบฐานข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณน้ำต้นทุนและความต้องการใช้น้ำของผู้ใช้น้ำในภาคส่วนต่าง ๆ ในลุ่มน้ำหลักของจังหวัดระยอง

ดูข้อมูล

2. มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน้ำต้นทุนและแหล่งกักเก็บน้ำ โดยกำหนดสัดส่วนการใช้น้ำในกิจกรรมต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับปริมาณน้ำท่าและน้ำที่กักเก็บในแต่ละลุ่มน้ำหลักของจังหวัดระยอง

ดูข้อมูล

3. มาตรการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสำหรับสำรองน้ำฝน และจัดสรรน้ำในพื้นที่ประสบภัยแล้งซ้ำซาก พื้นที่นอกเขตชลประทาน และพื้นที่ที่ยังใช้น้ำบาดาล

ดูข้อมูล

4. มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน้ำใต้ดินร่วมกับการใช้น้ำผิวดินในพื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง

ดูข้อมูล

5. มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน้ำใต้ดินร่วมกับการใช้น้ำผิวดินในพื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง

ดูข้อมูล

1. มาตรการอนุรักษ์และฟื้นฟูแม่น้ำลำคลองและแหล่งน้ำธรรมชาติภายในจังหวัดโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน

ดูข้อมูล

2. มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพในการบำบัดและควบคุมการระบายน้ำเสียออกสู่สิ่งแวดล้อม

ดูข้อมูล

3. มาตรการส่งเสริมการพัฒนาและใช้เทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียเพื่อนำน้ำหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่

ดูข้อมูล

1. มาตรการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิตพืชให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

2. มาตรการส่งเสริมระบบการปลูกพืชแบบผสมผสานหรือพืชหมุนเวียน

ดูข้อมูล

3. มาตรการพัฒนาและปรับปรุงการจัดการน้ำของพื้นที่เกษตรกรรมในเขตชลประทานที่มีความเสี่ยงต่อการได้รับผลกระทบจากอุทกภัยและภัยแล้งให้มีประสิทธิภาพ

ดูข้อมูล

4. มาตรการพัฒนาแหล่งน้ำในพื้นที่เกษตรกรรมนอกเขตชลประทานให้มีประสิทธิภาพและเพียงพอต่อความต้องการใช้การเพาะปลูก

ดูข้อมูล

1. มาตรการพัฒนาการจัดการระบบปศุสัตว์และการผลิตสินค้าจากปศุสัตว์ให้สอดคล้องกับแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

2. มาตรการพัฒนาระบบการควบคุม ป้องกัน และบำบัดโรคสัตว์ ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและในกรณีโรคระบาดจากอุทกภัยและภัยแล้ง

ดูข้อมูล

1. มาตรการพัฒนาการจัดการประมงให้สอดคล้องกับแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

2. มาตรการฟื้นฟูทรัพยากรประมง และแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำ

ดูข้อมูล

3. มาตรการพัฒนาระบบการป้องกันและลดผลกระทบของความเสียหายจากอุทกภัยและภัยแล้งในการทำการประมงและการผลิตสัตว์น้ำ

ดูข้อมูล

1. มาตรการพัฒนาดัชนีความสามารถในการพึ่งตนเองของภาคเกษตรเมื่อเกิดภัยพิบัติที่สืบเนื่องจากสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

2. มาตรการพัฒนากลไกการเตือนภัยและรายงานสถานการณ์เตือนภัยทางการเกษตร

ดูข้อมูล

3. มาตรการจัดทำแผนที่พื้นที่เกษตรเสี่ยงภัยและคาดการณ์ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในระดับพื้นที่ และเผยแพร่ให้เกษตรกรสามารถเข้าถึงข้อมูลและใช้ประโยชน์ได้

ดูข้อมูล

1. มาตรการปรับปรุงปฏิทินการท่องเที่ยวให้สอดคล้องกับฤดูกาลที่เปลี่ยนแปลงไป

ดูข้อมูล

2. มาตรการกำหนดรูปแบบการท่องเที่ยวในพื้นที่เสี่ยง

ดูข้อมูล

3. มาตรการพัฒนาและสำรองแหล่งน้ำเพิ่มในแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติในพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งโดยคำนึงถึงระบบนิเวศ

ดูข้อมูล

1. มาตรการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบป้องกันน้ำท่วมของแหล่งท่องเที่ยวเชิงศิลปกรรมในพื้นที่เสี่ยงอุทกภัย

ดูข้อมูล

2. มาตรการเพิ่มมาตรการป้องกันการผุกร่อนของสิ่งปลูกสร้างและสถาปัตยกรรมที่มีคุณค่าเชิงศิลปกรรมจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิความชื้น และระดับคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ

ดูข้อมูล

3. มาตรการเพิ่มมาตรการป้องกันความเสียหายในเชิงโครงสร้างให้กับสิ่งปลูกสร้างและสถาปัตยกรรมที่มีคุณค่าเชิงศิลปกรรมที่เสี่ยงต่อความเสียหายจากภัยพิบัติที่สืบเนื่องจากสภาพภูมิอากาศ เช่น การเสียดสีกัดกร่อน กัดเซาะ จากพายุลมกระโชกแรง กระแสน้ำ และคลื่นพายุซัดฝั่ง

ดูข้อมูล

1. มาตรการจัดทำข้อมูลการประเมินความเสี่ยงและผลกระทบของแหล่งท่องเที่ยวจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

2. มาตรการพัฒนาหรือปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานภายในแหล่งท่องเที่ยว เพื่อบรรเทาและลดผลกระทบจากสภาวะอากาศร้อนจัดให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่

ดูข้อมูล

3. มาตรการบูรณาการแผนการปรับตัวต่อความเสี่ยงจากสภาพภูมิอากาศด้านการท่องเที่ยวเข้ากับแผนของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและผู้ประกอบการอุตสาหกรรมท่องเที่ยว

ดูข้อมูล

1. มาตรการการเพิ่มขีดความสามารถในการป้องกันและดูแลสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงด้านสุขภาพ

ดูข้อมูล

2. มาตการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขของประเทศเพื่อรองรับการจัดการผลกระทบด้านสุขภาพจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

3. มาตรการพัฒนาศักยภาพประชาชนให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักในเรื่องผลกระทบต่อสุขภาพจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการแก้ไขปัญหาและปรับตัวภายใต้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้อย่างเหมาะสม

ดูข้อมูล

1. มาตรการพัฒนาระบบเฝ้าระวังและคาดการณ์ความเสี่ยงผลกระทบต่อสุขภาพจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

2. ปรับปรุงระบบประกันสุขภาพให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพ ครอบคลุมประชากรกลุ่มเสี่ยงที่มีความอ่อนไหวต่อปัจจัยทางภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

3. พัฒนางานวิจัย องค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมในการลดและจัดการความเสี่ยงต่อสุขภาพหรือกลุ่มโรคอุบัติใหม่ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

1. มาตรการสงวนและคุ้มครองพื้นที่ป่าอนุรักษ์ที่ยังคงมีสภาพป่าสมบูรณ์ โดยให้ความสำคัญกับการอนุรักษ์และบริหารจัดการกลุ่มป่า การปลูกป่าเป็นแนวเชื่อมต่อระหว่างป่า (Ecological corridor) การปลูกป่า เป็นแนวกันชน (Buffer)

ดูข้อมูล

2. มาตรการสนับสนุนการปลูกป่าและเพิ่มพื้นที่ป่า ในพื้นที่ป่าที่ถูกบุกรุกหรือทำลายป่าต้นน้ำที่เสื่อมโทรม หรือพื้นที่ว่างนอกเขตป่าธรรมชาติ รวมทั้งพื้นที่ป่าของเอกชน

ดูข้อมูล

3. มาตรการสนับสนุนการอนุรักษ์ชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่น และชนิดพันธุ์ที่ใกล้สูญพันธุ์ในระบบนิเวศบนบก โดยเฉพาะอย่างยิ่งสัตว์กินเนื้อ ซึ่งได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งป้องกันชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่อาจแพร่ระบาดเพิ่มมากขึ้นจากสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป

ดูข้อมูล

1. มาตรการผลักดันการประกาศเขตคุ้มครองในพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความเปราะบางเชิงนิเวศ และเสี่ยงต่อการถูกคุกคามความหลากหลายทางชีวภาพที่อยู่นอกเขตอนุรักษ์

ดูข้อมูล

2. มาตรการจัดทำแผนการบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับจังหวัดหรือระดับท้องถิ่น

ดูข้อมูล

3. มาตรการพัฒนาและฟื้นฟูพื้นที่ชุ่มน้ำเพื่อเป็นพื้นที่รองรับน้ำช่วยชะลอและป้องกันน้ำท่วม ทั้งพื้นที่ชุ่มน้ำทางธรรมชาติ และพื้นที่ชุ่มน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น

ดูข้อมูล

1. มาตการอนุรักษ์และคุ้มครองทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง รวมทั้งเพิ่มหรือฟื้นฟูระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่งเพื่อรักษาความสมดุลของระบบนิเวศโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

ดูข้อมูล

2. มาตรการสนับสนุนการอนุรักษ์ชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่น และชนิดพันธุ์ที่ใกล้สูญพันธุ์ในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง ซึ่งได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมทั้ง ป้องกันชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่อาจแพร่ระบาดเพิ่มมากขึ้นจากสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป

ดูข้อมูล

3. มาตรการผลักดันการประกาศเขตคุ้มครองในพื้นที่ทางทะเลและชายฝั่งที่มีความเปราะบางเชิงนิเวศและเสี่ยงต่อการถูกคุกคามความหลากหลายทางชีวภาพ

ดูข้อมูล

1. มาตรการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็นและมีความคงทนและสามารถให้บริการได้อย่างต่อเนื่องในสภาวะฉุกเฉินและประชาชนสามารถเข้าถึงโครงสร้างพื้นฐานหลักได้สะดวกทั้งในสถานการณ์ปกติ และหลังการเกิดภัย

ดูข้อมูล

2. มาตรการผลักดันให้มีข้อกำหนดของผังเมืองหรือกฎหมายควบคุมอาคารในพื้นที่ที่อาจได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

3. มาตรการสนับสนุแนนวทางการพัฒนาโดยใช้ประโยชน์ที่ดินแบบผสมผสาน(Mixed use)

ดูข้อมูล

1. มาตรการผลักดันให้ท้องถิ่นบูรณาการประเด็นด้านการปรับตัวและรับมือกับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เข้ากับแผนและยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน และท้องถิ่น

ดูข้อมูล

2. มาตรการจัดทำผังเมืองเฉพาะที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการปรับตัวต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

3. มาตรการปรับเปลี่ยนรูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

1. มาตรการพัฒนากลไกการเตือนภัยพิบัติและรายงานสถานการณ์เตือนภัยพิบัติที่ครอบคลุมสำหรับเมืองในทุกระดับที่มีความแม่นยำ เข้าถึงง่าย ทันต่อเหตุการณ์ และสามารถเชื่อมโยงกับระบบเตือนภัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างสมบูรณ์ และสนับสนุนให้ประชาชนทุกกลุ่มสามารถเข้าถึงข้อมูลได้

ดูข้อมูล

2. มาตรการเพิ่มขีดความสามารถของภาคประชาชนโดยการให้ความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนในการรับมือและจัดการความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ดูข้อมูล

3. มาตรการสนับสนุนให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้มีรายได้น้อยที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สามารถเข้าถึงความช่วยเหลือในรูปแบบต่าง ๆและได้รับความเป็นธรรม

ดูข้อมูล
 
 

ข้อมูลสภาพการณ์ความเสี่ยง (Risk Profile) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของจังหวัด
 
ข้อมูลฐานพื้นที่

ข้อมูลฐานพื้นที่

(1) ข้อมูลพื้นฐานพื้นที่_ระยอง.xlsx

แบบประเมินรายการความเสี่ยง

แบบประเมินรายการความเสี่ยง

(2) แบบประเมินรายการความเสี่ยง_ระยอง.xlsx

Risk Profile Checklist

Risk Profile Checklist

(3) Risk Profile Checklist_ระยอง.xlsx