ข้อมูลสภาพการณ์ความเสี่ยง (Risk Profile) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของจังหวัด
การวิเคราะห์ห่วงโซ่ผลกระทบ (Impact Chain Analysis)
ตารางความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขา
ตารางแสดงความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขาทั้งหมด
โครงการ / เรื่อง | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ด้านที่ 1 |
ด้านที่ 2 |
ด้านที่ 3 |
ด้านที่ 4 |
ด้านที่ 5 |
ด้านที่ 6 |
จัดการ | |
1. พัฒนาการจัดทำ Water footprint และระบบฐานข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณน้ำต้นทุนและความต้องการใช้น้ำของผู้ใช้น้ำในภาคส่วนต่าง ๆ |
ดูข้อมูล | ||||||
2. ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายและวางแผนการใช้ประโยชน์ที่ดินการจัดการน้ำและป่าในแต่ละลุ่มน้ำ |
ดูข้อมูล | ||||||
3. ส่งเสริมให้เกิดการผสานภูมิปัญญาท้องถิ่นร่วมกับการจัดการน้ำสมัยใหม่ที่เหมาะสมกับการบริหารจัดการน้ำตามบริบทของแต่ละภูมิภาค |
ดูข้อมูล | ||||||
4. เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน้ำต้นทุนและแหล่งกักเก็บน้ำ โดยกำหนดสัดส่วนการใช้น้ำในกิจกรรมต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับปริมาณน้ำท่าและน้ำที่กักเก็บในแต่ละลุ่มน้ำ |
ดูข้อมูล | ||||||
5. ผลักดันการดำเนินงานภายใต้กลไกความร่วมมือในการบริหารจัดการน้ำในลุ่มน้ำที่มีความสำคัญในระดับนานาชาติอย่างต่อเนื่อง |
ดูข้อมูล | ||||||
6. การรักษาคุณภาพน้ำ เพื่อใช้ในการการอุปโภคและบริโภค ให้มีความสะอาดมีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐาน |
ดูข้อมูล | ||||||
1. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ในการเตรียมรับมือกับอุทกภัยที่มีความสอดคล้องและเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ ระบบนิเวศ และชุมชน |
ดูข้อมูล | ||||||
2. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสำหรับสำรองน้ำฝน และจัดสรรน้ำในพื้นที่ประสบภัยแล้งซ้ำซากพื้นที่นอกเขตชลประทาน และพื้นที่ที่ยังใช้น้ำบาดาล |
ดูข้อมูล | ||||||
3. เพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการปัญหาสถานการณ์ภัยแล้ง และการเปลี่ยนแปลงของน้ำท่า |
ดูข้อมูล | ||||||
4. ส่งเสริมการพัฒนาและใช้เทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียเพื่อนำน้ำหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ |
ดูข้อมูล | ||||||
5. พัฒนาระบบการพยากรณ์สถานการณ์น้ำและเตือนภัยล่วงหน้า (early warning system) |
ดูข้อมูล | ||||||
6. สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังภัยพิบัติในพื้นที่ที่มีความเสี่ยง |
ดูข้อมูล | ||||||
7. เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน้ำใต้ดินร่วมกับการใช้น้ำผิวดินในพื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง |
ดูข้อมูล | ||||||
8. จัดทำแผนป้องกันและลดมลพิษในกรณีอุทกภัยในพื้นที่เสี่ยง |
ดูข้อมูล | ||||||
9. พัฒนาระบบการช่วยเหลือ ชดเชย หรือระบบประกันภัยพิบัติที่เกี่ยวข้องกับการจัดการน้ำ |
ดูข้อมูล | ||||||
1. พัฒนาระบบข้อมูลเตือนภัยล่วงหน้า (Early warning system) ทางการเกษตร |
ดูข้อมูล | ||||||
2. พัฒนาระบบประกันภัยหรือการประกันความเสี่ยงจากสภาพภูมิอากาศต่อผลผลิตทางการเกษตรที่เหมาะสม |
ดูข้อมูล | ||||||
3. จัดทำแผนที่พื้นที่เกษตรเสี่ยงภัยและคาดการณ์ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในระดับพื้นที่ |
ดูข้อมูล | ||||||
4. ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนรูปแบบการทำการเกษตรให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
5. ส่งเสริมการปรับปรุงพันธุ์พืช/พันธุ์สัตว์ และสนับสนุนการเข้าถึงของเกษตรกรให้สามารถใช้พันธุ์พืช/พันธุ์สัตว์ที่เหมาะสมต่อการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยทางภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
6. พัฒนาการจัดการระบบปศุสัตว์และการผลิตสินค้าจากปศุสัตว์ให้สอดคล้องกับแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
7. พัฒนาการจัดการประมงให้สอดคล้องกับแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
8. สนับสนุนการสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการเกษตรในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
9. สร้างความตระหนักรู้ต่อเกษตรกรถึงผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคเกษตร และพัฒนาศักยภาพในการรับมือและจัดการความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
1. พัฒนาการทำการเกษตรแม่นยำสูง (Precision farming) ให้มีต้นทุนที่ลดลง เกษตรกรสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้อย่างกว้างขวาง |
ดูข้อมูล | ||||||
2. พัฒนาและปรับปรุงการจัดการนำของพื้นที่เกษตรกรรมในเขตชลประทานที่มีความเสี่ยงต่อการได้รับผลกระทบจากอุทกภัยและภัยแล้งให้มีประสิทธิภาพ |
ดูข้อมูล | ||||||
3. พัฒนาแหล่งน้ำในพื้นที่เกษตรกรรมนอกเขตชลประทานให้มีประสิทธิภาพและเพียงพอต่อความต้องการใช้การเพาะปลูกและการทำปศุสัตว์ |
ดูข้อมูล | ||||||
4. ส่งเสริมการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และบำรุงรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดินในพื้นที่เกษตรกรรมที่มีความเสื่อมโทรมของดิน |
ดูข้อมูล | ||||||
5. ส่งเสริมการจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจ (Agro – economics Zone) ที่มีความเหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่ |
ดูข้อมูล | ||||||
6. พัฒนาระบบการสำรองอาหารระดับจังหวัด พร้อมทั้งกลไกการกระจายอาหารที่มีประสิทธิภาพ |
ดูข้อมูล | ||||||
7. สนับสนุนการวิจัยพัฒนาและส่งเสริมเทคโนโลยีเพื่อลดการสูญเสีย (Food loss Food Waste) ของผลผลิตการเกษตร |
ดูข้อมูล | ||||||
8. วิจัยพัฒนาและส่งเสริมเทคโนโลยีเพื่อจัดการปัญหาด้านปริมาณและคุณภาพของผลผลิตทางด้านเกษตร รวมถึงปศุสัตว์ |
ดูข้อมูล | ||||||
9. วิจัยพัฒนาและส่งเสริมเทคโนโลยีเพื่อจัดการปัญหาโรคระบาดในพืชและสัตว์ เพื่อลดความสูญเสียของผลิตภัณฑ์ |
ดูข้อมูล | ||||||
1. จัดทำแผนที่เสี่ยงจากภัยพิบัติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของแหล่งท่องเที่ยว และพัฒนาระบบเตือนภัยพิบัติที่มีประสิทธิภาพ |
ดูข้อมูล | ||||||
2. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของแหล่งท่องเที่ยวที่สอดคล้องกับระบบนิเวศและวัฒนธรรมท้องถิ่นเพื่อลดผลกระทบจากภัยพิบัติ และลดความเสี่ยงจากสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
3. ปรับปรุงปฏิทินการท่องเที่ยวให้สอดคล้องกับฤดูกาลที่เปลี่ยนแปลงไป |
ดูข้อมูล | ||||||
4. สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังและแจ้งเตือนภัยด้านการท่องเที่ยวในการรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
5. สร้างความตระหนักและเสริมสร้างขีดความสามารถของผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในการลดผลกระทบและรับมือกับความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
6. การแก้ไขปัญหาสภาพแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยว ผ่านความร่วมมือของทุกภาคส่วนตั้งแต่ ภาครัฐ ภาคท้องถิ่น ภาคเอกชนและภาคประชาชน |
ดูข้อมูล | ||||||
7. พัฒนารูปแบบหรือแผนการการป้องกันสถานที่ท่องเที่ยว ไม่ให้รับผลกระทบจากภัยพิบัติ เช่นน้ำท่วมทางเข้าหรือบริเวณพื้นที่ท่องเที่ยว |
ดูข้อมูล | ||||||
8. การจัดการความปลอดภัยให้นักท่องเที่ยวจากอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากภัยพิบัติ |
ดูข้อมูล | ||||||
1. พัฒนารูปแบบการท่องเที่ยวในพื้นที่เสี่ยงที่คำนึงถึงศักยภาพในการรองรับของพื้นที่ (Carrying capacity) ที่เหมาะสมกับสภาพของอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป |
ดูข้อมูล | ||||||
2. พัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวในรูปแบบที่หลากหลายเพื่อสนับสนุนการเพิ่มภูมิคุ้มกันและลดความเสี่ยงต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในพื้นที่ท่องเที่ยวที่มีศักยภาพ |
ดูข้อมูล | ||||||
3. พัฒนาและส่งเสริมพื้นที่ท่องเที่ยวในพื้นที่เสี่ยง ให้เป็นธุรกิจท่องเที่ยวที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการจัดประชุมองค์กร การท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล การจัดประชุมนานาชาติ และการจัดแสดงสินค้า (MICE) |
ดูข้อมูล | ||||||
4. เพิ่มขีดความสามารถของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดการรูปแบบการท่องเที่ยวเพื่อรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
5. ส่งเสริมระบบขนส่งสาธารณะและการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว เพื่อกระตุ้นให้นักท่องเที่ยวมีความสนใจ สะดวกสบายและปลอดภัยมากยิ่งขึ้น |
ดูข้อมูล | ||||||
6. สนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และการเพิ่ม Land mark เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยว เพื่อลดความเสี่ยงจากการท่องเที่ยวที่ต้องพึงพาธรรมชาติ |
ดูข้อมูล | ||||||
7. สร้างภาพลักษณ์และสนับสนุนการท่องเที่ยว การส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community-Based Tourism : CBT) และ BCG Model ซึ่งเป็นโมเดลทางเศรษฐกิจด้วยการนำเอาเทคโนโลยี นวัตกรรม และวิทยาศาสตร์เข้ามาช่วยในการขับเคลื่อนประเทศ |
ดูข้อมูล | ||||||
1. พัฒนาระบบและกลไกการเฝ้าระวัง ระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ และพัฒนาแผนที่เสี่ยงด้านสุขภาพและผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
2. พัฒนางานวิจัย องค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ในการลดและจัดการความเสี่ยงต่อสุขภาพที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
3. ป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพของชุมชนในพื้นที่เสี่ยงและประชากรกลุ่มเสี่ยง |
ดูข้อมูล | ||||||
4. พัฒนากลไกความร่วมมือทุกภาคส่วน ทั้งในและนอกระบบสาธารณสุข ในการบริหารจัดการ เพื่อป้องกันและลดผลกระทบต่อสุขภาพจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
5. เสริมสร้างศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขในทุกระดับ เพื่อรับมือผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในเชิงรุก |
ดูข้อมูล | ||||||
1. ปรับปรุงระบบประกันสุขภาพให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพ ครอบคลุมประชากรกลุ่มเสี่ยงที่มีความอ่อนไหวต่อปัจจัยทางภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
2. วิจัยและพัฒนามาตรฐานการรักษา และระบบบริการสาธารณสุข เพื่อรับมือกับสถานการณ์ผลกระทบต่อสุขภาพ |
ดูข้อมูล | ||||||
3. พัฒนาต้นแบบโรงพยาบาลในการลดและจัดการความเสี่ยงต่อสุขภาพที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศในระดับพื้นที่ |
ดูข้อมูล | ||||||
4. พัฒนาขีดความสามารถของหน่วยงานและบุคลากรสาธารณสุขในการลดและแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
1. สงวนและคุ้มครองพื้นที่ป่าอนุรักษ์ที่ยังคงมีสภาพป่าสมบูรณ์ โดยให้ความสำคัญกับการอนุรักษ์และบริหารจัดการกลุ่มป่า การปลูกป่าเป็นแนวเชื่อมต่อระหว่างป่า (Ecological corridor) การปลูกป่าเป็นแนวกันชน (Buffer) |
ดูข้อมูล | ||||||
2. สนับสนุนการปลูกป่าและเพิ่มพื้นที่ป่า ในพื้นที่ป่าที่ถูกบุกรุกหรือทำลาย ป่าต้นน้ำที่เสื่อมโทรมหรือพื้นที่ว่างนอกเขตป่าธรรมชาติ |
ดูข้อมูล | ||||||
3. สนับสนุนการอนุรักษ์ชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่น และชนิดพันธุ์ที่ใกล้สูญพันธุ์ รวมทั้งป้องกันชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่อาจแพร่ระบาดเพิ่มมากขึ้นจากสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป |
ดูข้อมูล | ||||||
4. สนับสนุนและส่งเสริมกลไกการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิเวศต่าง ๆ |
ดูข้อมูล | ||||||
5. ผลักดันการประกาศเขตคุ้มครองในพื้นที่มีความเปราะบางเชิงนิเวศ และเสี่ยงต่อการถูกคุกคามความหลากหลายทางชีวภาพที่อยู่นอกเขตป่าอนุรักษ์ |
ดูข้อมูล | ||||||
6. พัฒนาระบบฐานข้อมูล การคาดการณ์ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อระบบนิเวศและทรัพยากรธรรมชาติ |
ดูข้อมูล | ||||||
7. พัฒนาระบบติดตามและประเมินตัวชี้ วัดความสมบูรณ์ของระบบนิเวศ (Biological indicators) |
ดูข้อมูล | ||||||
1. พัฒนากลไกที่ช่วยส่งเสริมบทบาทของชุมชนที่มีวิถีชีวิตเชิงนิเวศในการสงวนรักษาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ |
ดูข้อมูล | ||||||
2. ส่งเสริมและพัฒนาชุมชนที่มีวิถีชีวิตเชิงนิเวศ (Eco-villages) |
ดูข้อมูล | ||||||
3. ส่งเสริมความร่วมมือจากภาคเอกชนและภาคประชาชนในการสงวนรักษาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ |
ดูข้อมูล | ||||||
4. พัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดไฟป่าโดยสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน |
ดูข้อมูล | ||||||
5. สร้างเครือข่ายการเฝ้าระวังและติดตามตัวชี้วัดความสมบูรณ์ของระบบนิเวศ (Biological indicators) |
ดูข้อมูล | ||||||
6. สร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและเพิ่มขีดความสามารถให้กับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องโดยใช้หลักการปรับตัวโดยอาศัยระบบนิเวศ (Ecosystem-based Adaptationหรือ EbA) |
ดูข้อมูล | ||||||
1. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็นและมีความหลากหลายในการรองรับภาวะฉุกเฉินอันเนื่องมาจากภัยธรรมชาติในทุกพื้นที่เสี่ยงและทำแผนรับมือภัยธรรมชาติในภาวะฉุกเฉิน |
ดูข้อมูล | ||||||
2. พัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพระบบการแจ้งเตือนภัยล่วงหน้า (Early warning system) ในระดับชุมชนที่ประชาชนสามารถเข้าถึงได้ |
ดูข้อมูล | ||||||
3. ผลักดันให้มีการผนวกรวมประเด็นเรื่องของสิ่งปลูกสร้างที่สอดคล้องกับสภาพอากาศ (Climate resilience building) เป็นมาตรฐานและหลักเกณฑ์ในการออกแบบก่อสร้างอาคาร ภายใต้ พรบ.ควบคุมอาคารพ.ศ.2522 |
ดูข้อมูล | ||||||
4. บูรณาการประเด็นด้านการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเข้ากับการจัดทำผังเมืองในทุกระดับ |
ดูข้อมูล | ||||||
5. ส่งเสริมการพัฒนาสิ่งปลูกสร้างที่ใช้แนวคิดเรื่องสถาปัตยกรรมที่สอดคล้องกับสภาพอากาศ (Climate resilience architecture) |
ดูข้อมูล | ||||||
6. พัฒนาและจัดทำแผนในการสำรองระบบที่มีความจำเป็นในการดำรงชีวิตในกรณีเกิดภัยพิบัติหรือภาวะวิกฤติ |
ดูข้อมูล | ||||||
7. ผลักดันให้โครงการลงทุนขนาดใหญ่ของภาครัฐต้องจัดทำการวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
8. ส่งเสริมให้ภาคเอกชนมีบทบาทในการดำเนินมาตรการรับมือและจัดการความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
1. ผลักดันให้ท้องถิ่นบูรณาการประเด็นด้านการปรับตัวและรับมือกับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เข้ากับแผนและยุทธศาสตร์การพัฒนาเมือง ชุมชน และท้องถิ่น |
ดูข้อมูล | ||||||
2. เพิ่มขีดความสามารถของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการเตรียมความพร้อมและบริหารจัดการความเสี่ยงจากผลกระทบการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
3. พัฒนาศักยภาพของชุมชนในการเฝ้าระวัง แจ้งเตือนภัย เผชิญภัย ระงับภัย รวมถึงการช่วยเหลือและฟื้นฟูหลังเกิดภัยในพื้นที่เสี่ยง |
ดูข้อมูล | ||||||
4. สนับสนุนให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้มีรายได้น้อยที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สามารถเข้าถึงความช่วยเหลือในรูปแบบต่าง ๆ |
ดูข้อมูล | ||||||
5. สร้างความตระหนักรู้ให้แก่ชุมชนและภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเข้าใจถึงความเสี่ยงและผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล |