หน้าหลัก
E-Platform
Guest   
พัทลุง
ปีฐาน : 2562

 

ข้อมูลสภาพการณ์ความเสี่ยง (Risk Profile) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของจังหวัด
 

การวิเคราะห์ห่วงโซ่ผลกระทบ (Impact Chain Analysis)


ตารางความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขา

ตารางแสดงความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขาทั้งหมด

   
 
 
โครงการ / เรื่อง

ด้านที่ 1

ด้านที่ 2

ด้านที่ 3

ด้านที่ 4

ด้านที่ 5

ด้านที่ 6
จัดการ

1. กิจกรรมการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการการเปิดปิดระบายน้ำอัตโนมัติ ในอาคารหลัก ลุ่มน้ำย่อย ประตูระบายน้ำ อ่างเก็บน้ำ

ดูข้อมูล

2. กิจกรรมเพิ่มศักยภาพเครือข่ายการจัดการน้ำทั้งต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ เพื่อสร้างนโยบาย มาตรการ แผนปฏิบัติการการบริหารจัดการน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ และมีกลไกการเฝ้าระวัง ติดตาม และประเมินการประสิทธิภาพการใช้น้ำ

ดูข้อมูล

3. กิจกรรมสร้างระบบบริหารจัดการน้ำกลุ่มผู้ใช้น้ำนอกเขตชลประทาน เพื่อให้มีส่วนร่วมในทุกภาคส่วนในการกำหนดนโยบาย และวางแผนการใช้ประโยชน์ที่ดิน

ดูข้อมูล

4. กิจกรรมพัฒนาระบบประปาให้ครอบคลุมทุกหมู่บ้านและโรงเรียน จังหวัดพัทลุง

ดูข้อมูล

5. กิจกรรมธนาคารน้ำใต้ดินเพื่อการอุปโภค บริโภค และการเกษตรนอกเขตชลประทาน

ดูข้อมูล

6. กิจกรรมสร้างเครือข่ายร่วมกับมหาวิทยาลัยในการศึกษาและวิจัยการจัดการทรัพยากรน้ำโดยใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านเพื่อการเฝ้าระวังและการจัดการภัยแล้ง น้ำท่วม และการรุกล้ำของน้ำเค็ม

ดูข้อมูล

1. กิจกรรมการสร้างพื้นที่ทุ่งรับน้ำช่วงน้ำหลาก/สร้างท่อลอดใต้ถนนเพื่อเพิ่มเส้นทางการระบายน้ำ

ดูข้อมูล

1. กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพและขยายระบบการชลประทานและระบบกระจายน้ำให้เข้าถึงพื้นที่เกษตรมากขึ้นในพื้นที่นอกเขตชลประทาน

ดูข้อมูล

1. กิจกรรมจัดให้มีระบบเตือนภัยพิบัติล่วงหน้าภายในเขตพื้นที่เสี่ยงภัย ให้สามารถใช้งานได้ตลอดเวลา และสามารถแจ้งเตือนภัยพิบัติล่วงหน้าได้อย่างทันท่วงที

ดูข้อมูล

2. กิจกรรมการนำเทคโนโลยี (แอปพลิเคชั่น) ที่ทันสมัยมาใช้ในการแจ้งเตือนภัยในเขตพื้นที่เสี่ยงภัย

ดูข้อมูล

1. กิจกรรมการสร้างและปรับปรุงแหล่งน้ำต้นทุนเพื่อรองรับการบริโภค อุปโภคในชุมชน

ดูข้อมูล

1. กิจกรรมส่งเสริมการเพาะปลูกแบบผสมผสานเพื่อลดความเสี่ยงและความเสียหายจากการระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืช และเพื่อการอนุรักษ์ดิน

ดูข้อมูล

2. กิจกรรมการปรับกระบวนการ กลไกและโครงสร้างพื้นฐานด้านการเกษตรที่จำเป็นในการทำเกษตรกรรมยั่งยืน

ดูข้อมูล

3. กิจกรรมส่งเสริมการทำเกษตรกรรมตามหลักการปฏิบัติที่ดี (Good Agricultural Practices: GAP) ของสินค้าเกษตร 3 ประเภท คือ พืชผล ปศุสัตว์ และสัตว์น้ำ โดยสนับสนุนบทบาทเครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านในการขับเคลื่อนและขยายผล

ดูข้อมูล

1. กิจกรรมสร้างเครือข่ายร่วมกับมหาวิทยาลัยในการศึกษาและวิจัยด้านการจัดการโรคพืชและสัตว์ และการจัดการแมลงศัตรูพืชโดยชีววิธี

ดูข้อมูล

2. กิจกรรมจัดทำแผนที่แสดงพื้นที่เกษตรเสี่ยงภัยเพื่อคาดการณ์ผลกระทบในระดับพื้นที่ โดยกำหนดเขตพื้นที่เกษตรกรรม (zoning) และเผยแพร่ให้แก่เกษตรกร

ดูข้อมูล

3. กิจกรรมอบรมการใช้เทคโนโลยี ในการวางแผนการเกษตร การจัดการดิน น้ำ และปุ๋ย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตการเกษตร (Smart Farm)

ดูข้อมูล

1. กิจกรรมพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศพื้นที่เสี่ยงภัยด้านการเกษตร พัฒนาระบบเตือนภัย และสถานการณ์เตือนภัยทางการเกษตร

ดูข้อมูล

1. กิจกรรมส่งเสริมการรวมกลุ่มประมงชายฝั่งและประมง พื้นบ้านเพื่อสร้างพลังในการประกอบอาชีพควบคู่ไปกับการอนุรักษ์ในพื้นที่

ดูข้อมูล

2. กิจกรรม อนุรักษ์พันธุ์พืชและสัตว์พื้นเมือง

ดูข้อมูล

1. กิจกรรมปลูกต้นไม้เสริมในพื้นที่เสื่อมโทรมของป่าต้นน้ำ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัด และอุทยานแห่งชาติเขาปู่ - เขาย่า

ดูข้อมูล

2. กิจกรรม สร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์และหวงแหนให้กับกลุ่มเยาวชนและประชาชนในพื้นที่ป่า โดยเพิ่มกิจกรรมเสริมหลักสูตรนอกห้องเรียน

ดูข้อมูล

1. กิจกรรมศึกษาวิจัยปัญหาทะเลสาบตื้นเขินเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบและลดการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ

ดูข้อมูล

2. กิจกรรมกำจัดผักตบชวา ต้นกง จอกหูหนูยักษ์และวัชพืชในแหล่งน้ำทะเลน้อยและในทะเลสาบ

ดูข้อมูล

3. กิจกรรมสร้างเครือข่ายภาคประชาชนในการจัดการพื้นที่ชุมน้ำและชายฝั่งทะเลสาบสงขลาอย่างยั่งยืน

ดูข้อมูล

4. กิจกรรมการจัดการคุณภาพน้ำในทะเลสาบสงขลาและทะเลน้อย

ดูข้อมูล

1. กิจกรรมส่งเสริมปลูกไม้ในพื้นที่ป่าสงวน

ดูข้อมูล

2. กิจกรรมส่งเสริมปลูกไม้ในพื้นที่สวนป่า

ดูข้อมูล

3. กิจกรรมส่งเสริมปลูกไม้เศรษฐกิจ

ดูข้อมูล

4. กิจกรรมส่งเสริมปลูกไม้เศรษฐกิจในพื้นที่ว่างเปล่า พื้นที่สาธารณะ และป่าชุมชน

ดูข้อมูล

1. กิจกรรมมาตรการสร้างความรู้ความเข้าใจเครือข่ายประชาชน องค์กรชุมชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศทางน้ำและบนบกเพื่อลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและเพิ่มขีดความสามารถโดยใช้แนวทางการปรับตัวโดยอาศัยระบบนิเวศ

ดูข้อมูล

2. กิจกรรมส่งเสริมจิตอาสาและอาสาสมัครด้านสิ่งแวดล้อมในการเผยแพร่และสร้างความตระหนักในการปรับตัวเพื่อรับมือกับผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในชุมชน

ดูข้อมูล

3. กิจกรรม สร้างเยาวชนคนรุ่นใหม่ให้มีจิตอาสาและเป็นอาสาสมัครด้านสิ่งแวดล้อม แล้วส่งเสริมศักยภาพการเป็นวิทยากรในการเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจในการปรับตัวเพื่อรับมือกับผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

1. กิจกรรมแผนการดำเนินงานอนุรักษ์เฉพาะถิ่นและชนิดพันธุ์ที่ใกล้สูญพันธุ์

ดูข้อมูล
 
 

ข้อมูลสภาพการณ์ความเสี่ยง (Risk Profile) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของจังหวัด
 
ข้อมูลฐานพื้นที่

ข้อมูลฐานพื้นที่

[1] แบบฟอร์มเก็บข้อมูลพื้นฐานพื้นที่_พัทลุง.xlsx

แบบประเมินรายการความเสี่ยง

แบบประเมินรายการความเสี่ยง

[2] ข้อมูลความเสี่ยงตาม NAP_พัทลุง.xlsx

Risk Profile Checklist

Risk Profile Checklist

[3] checklist การประเมินความเสี่ยง_พัทลุง.xlsx