
ข้อมูลสภาพการณ์ความเสี่ยง (Risk Profile) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของจังหวัด
การวิเคราะห์ห่วงโซ่ผลกระทบ (Impact Chain Analysis)

ตารางความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขา
ตารางแสดงความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขาทั้งหมด
โครงการ / เรื่อง | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
![]() ด้านที่ 1 |
![]() ด้านที่ 2 |
![]() ด้านที่ 3 |
![]() ด้านที่ 4 |
![]() ด้านที่ 5 |
![]() ด้านที่ 6 |
จัดการ | |
การอนุรักษณ์และฟื้นฟูสภาพป่าต้นน้ำที่เสื่อมโทรมและป้องกันการพังทลายของดิน |
ดูข้อมูล | ||||||
การส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชนในพื้นที่ต้นน้ำในการกำหนดนโยบายและวางแผนการใช้ประโยชน์ที่ดิน |
ดูข้อมูล | ||||||
การส่งเสริมการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ เพื่อใช้เป็นกลไกและแรงจูงใจให้แก่ชุมชนปในพื้นที่ต้นน้ำในการดูแลและรักษาระบบนิเวศ (จ่ายค่าตอบแทนการบริการระบบนิเวศในชุมชนต้นน้ำ) |
ดูข้อมูล | ||||||
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในการเตรียมรับมืออุทกภัยที่มีความสอดคล้องและเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ ระบบนิเวศ และชุมชน (สร้างอ่างเก็บน้ำ แหล่งชะลอน้ำ แก้มลิง และคันกั้นดินริมตลิ่ง) |
ดูข้อมูล | ||||||
การเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำ (ขุดลอก/ปรับปรุงทางระบายน้ำ) |
ดูข้อมูล | ||||||
การพัฒนาระบบป้องกันน้ำท่วมในเขตเมือง โดยทำผังน้ำ ผังการระบายน้ำ ในระดับลุ่มน้ำ จังหวัด และเมือง |
ดูข้อมูล | ||||||
การจัดทำแผนป้องกันและลดมลพิษในกรณีอุทกภัยในพื้นที่เสี่ยง (ป้องกันการแพร่กระจายของมลพิษ) |
ดูข้อมูล | ||||||
การพัฒนาการจัดทำ water footprint และระบบฐานข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณน้ำต้นทุนและความต้องการใช้น้ำในภาคส่วนต่าง ๆ |
ดูข้อมูล | ||||||
การอนุรักษณ์และฟื้นฟูแม่น้ำลำคลองและแหล่งน้ำธรรมชาติโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน |
ดูข้อมูล | ||||||
การเพิ่มประสิทธิภาพในการบำบัดและควบคุมการระบายน้ำเสียออกสู่สิ่งแวดล้อม |
ดูข้อมูล | ||||||
การส่งเสริมการพัฒนาและใช้เทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสีย เพื่อนำน้ำหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ (ภาคครัวเรือนและภาคอุตสาหกรรม) |
ดูข้อมูล | ||||||
การพัฒนาดัชนีความมั่นคงด้านน้ำ |
ดูข้อมูล | ||||||
การจัดทำแผนบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ แผนแม่บทระดับลุ่มน้ำ และแผนปฏิบัติการ |
ดูข้อมูล | ||||||
การส่งเสริมการศึกษาและวิจัยร่วมกับการผสานภูมิปัญญาท้องถิ่นในการพัฒนาและจัดการทรัพยากรน้ำ ที่เหมาะสมกับการบริหารจัดการน้ำตามบริบทแต่ละพื้นที่ |
ดูข้อมูล | ||||||
การพัฒนาต้นแบบโรงพยาบาลและชุมชนในการลดและจัดการความ เสี่ยงต่อสุขภาพที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศในระดับพื้นที่ |
ดูข้อมูล | ||||||
การส่งเสริมการปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิตพืชให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
การส่งเสริมระบบการปลูกพืชแบบผสมผสานหรือพืชหมุนเวียน |
ดูข้อมูล | ||||||
การพัฒนาและปรับปรุงการจัดการน้ำของพื้นที่เกษตรกรรมในเขตชลประทานที่มีความเสี่ยงต่อการได้รับผลกระทบจากอุทกภัยและภัยแล้งให้มีประสิทธิภาพ |
ดูข้อมูล | ||||||
การพัฒนาแหล่งน้ำในพื้นที่เกษตรกรรมนอกเขตชลประทานให้มีประสิทธิภาพและเพียงพอต่อความต้องการใช้การเพาะปลูก |
ดูข้อมูล | ||||||
การส่งเสริมการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และบำรุงรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดินในพื้นที่เกษตรกรรมที่มีความเสื่อมโทรมของดิน |
ดูข้อมูล | ||||||
การส่งเสริมรูปแบบเกษตรกรรมที่ช่วยลดการชะล้างพังทลายดิน |
ดูข้อมูล | ||||||
การพัฒนาการจัดการระบบปศุสัตว์และการผลิตสินค้าจากปศุสัตว์ให้สอดคล้องกับแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
การพัฒนาระบบควบคุม ป้องกัน และบำบัดโรคสัตว์ ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
การพัฒนาการจัดการประมงให้สอดคล้องกับแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
การฟื้นฟูทรัพยากรประมงและแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำ |
ดูข้อมูล | ||||||
การพัฒนาระบบการป้องกันและลดผลกระทบของความเสียหายจากอุทกภัยและภัยแล้งในการทำประมงและการผลิตสัตว์น้ำ |
ดูข้อมูล | ||||||
การพัฒนาดัชนีความสามารถในการพึ่งตนเองของภาคเกษตรเมื่อเกิดภัยพิบัติที่สีบเนื่องจากสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
การพัฒนากลไกการเตือนภัยและรายงานสถานการณ์เตือนภัยทางการเกษตร |
ดูข้อมูล | ||||||
การจัดทำแผนที่พื้นที่เกษตรเสี่ยงภัยและคาดการณ์ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในระดับพื้นที่ และเผยแพร่ให้เกษตรกรสามารถเข้าถึงข้อมูลและใช้ประโยชน์ได้ |
ดูข้อมูล | ||||||
การพัฒนาการทำเกษตรแม่นยำสูง ให้มีต้นทุนที่ลดลง เกษตรกรสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้อย่างกว้างขวาง |
ดูข้อมูล | ||||||
การส่งเสริมการกำหนดพื้นที่ (Zoning) โดยใช้แผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-map) และการผลิตแบบแปลงใหญ่ เพื่อการผลิตแบบครบวงจร |
ดูข้อมูล | ||||||
การส่งเสริมการผลิตตามแนวเกษตรทฤษฎีใหม่ เกษตรกรรมยั่งยืน การเกษตรผสมผสาน |
ดูข้อมูล | ||||||
การส่งเสริมการฟื้นฟูวิถีชีวิตวัฒนธรรมการเก็บสำรองอาหารของครัวเรือในแต่ละท้องถิ่น |
ดูข้อมูล | ||||||
การจัดตั้งธนาคารพันธุ์พืช พันธุ์ปศุสัตว์ พันธุ์สัตว์น้ำ เพื่อเป็นแหล่งกู้ยืมปัจจัยการผลิต และเป็นแหล่งสำรองในภาวะภัยพิบัติทางธรรมชาติ |
ดูข้อมูล | ||||||
การส่งเสริมการปรับปรุงพันธุ์พืช/พันธุ์สัตว์ และสนับสนุนการเข้าถึงของเกษตรกรให้สามารถใช้พันธุ์พืช/พันธุ์สัตว์ที่เหมาะสมต่อการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยทางภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
การสนับสนุนการสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการเกษตรในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
การสร้างความตระหนักรู้ต่อเกษตรกรถึงผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคเกษตร และพัฒนาศักยภาพในการรับมือและจัดการความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
การปรับปรุงปฏิทินการท่องเที่ยวให้สอดคล้องกับฤดูกาลที่เปลี่ยนแปลงไป |
ดูข้อมูล | ||||||
การกำหนดรูปแบบการท่องเที่ยวในพื้นที่เสี่ยง และช่วงเวลาการให้บริการที่เหมาะสม |
ดูข้อมูล | ||||||
การพัฒนาและสำรองแหล่งน้ำเพิ่มในแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติในพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งโดยคำนึงถึงระบบนิเวศ |
ดูข้อมูล | ||||||
การจัดทำแผนการรับมือในสถานการณ์เกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ |
ดูข้อมูล | ||||||
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบป้องกันน้ำท่วมของแหล่งท่องเที่ยวเชิงศิลปกรรมในพื้นที่เสี่ยงอุทกภัย |
ดูข้อมูล | ||||||
การเพิ่มมาตรการป้องกันการผุกร่อนของสิ่งปลูกสร้างและสถาปัตยกรรมที่่มีคุณค่าเชิงศิลปกรรมจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ ความชื้น และ ระดับคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
การเพิ่มมาตรการป้องกันความเสียหายในเชิงโครงสร้างให้กับสิ่งปลูกสร้างและสถาปัตยกรรมที่มีคุณค่าเชิงศิลปกรรมที่เสี่ยงต่อความเสียหายจากภัยพิบัติที่สืบเนื่องจากสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
การจัดทำข้อมูลการประเมินความเสี่ยงและผลกระทบของแหล่งท่องเที่ยวจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งแผนที่เสี่ยง |
ดูข้อมูล | ||||||
การพัฒนาหรือปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานภายในแหล่งท่องเที่ยว เพื่อบรรเทาและลดผลกระทบจากสภาวะอากาศร้อนจัด ให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ |
ดูข้อมูล | ||||||
การบูรณาการแผนการปรับตัวต่อความเสี่ยงจากสภาพภูมิอากาศด้านการท่องเที่ยวเข้ากับแผนของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น |
ดูข้อมูล | ||||||
การพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวในรูปแบบที่หลากหลายเพื่อสนับสนุนการเพิ่มภูมิคุ้มกันและลดความเสี่ยงต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในพื้นที่ท่องเที่ยวที่่มีศักยภาพ |
ดูข้อมูล | ||||||
การเพิ่มขีดความสามารถของผู้ประกอบการท่องเที่ยว ชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดการรูปแบบสินค้า กิจกรรมหรือบริการด้านการท่องเที่ยวที่หลากหลายเพื่อรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
การส่งเสริมให้ผู้ประกอบการท่องเที่ยวจัดทำแผนบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Plan: BCP) |
ดูข้อมูล | ||||||
การพัฒนากลไกการแจ้งเตือนภัยด้านการท่องเที่ยวที่มีการทำงานที่เชื่อมโยงกับระบบเตือนภัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างบูรณาการและทำงานได้อย่างสมบูรณ์ รวมทั้งสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังในการรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
การสร้างความตระหนักและให้ความรู้แก่นักท่องเที่ยว ถึงความเสี่ยงและความเปราะบางต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของแหล่งท่องเที่ยวที่มีคุณค่าเชิงศิลปกรรมและทางธรรมชาติ |
ดูข้อมูล | ||||||
การเพิ่มขีดความสามารถในการป้องกันและดูแลสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงด้านสุขภาพ |
ดูข้อมูล | ||||||
การพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขของประเทศเพื่อรองรับการจัดการผลกระทบด้านสุขภาพจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
การพัฒนาศักยภาพประชาชนให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักในเรื่องผลกระทบต่อสุขภาพจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการแก้ไขปัญหาและปรับตัวภายใต้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้อย่างเหมาะสม |
ดูข้อมูล | ||||||
การพัฒนาระบบเฝ้าระวังและคาดการณ์ความเสี่ยงผลกระทบต่อสุขภาพจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
การปรับปรุงระบบประกันสุขภาพให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพ ครอบคลุมประชากรกลุ่มเสี่ยงที่มีความอ่อนไหวต่อปัจจัยทางภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
การพัฒนางานวิจัย องค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ในการลดและจัดการความเสี่ยงต่อสุขภาพ หรือกลุ่มโรคอุบัติใหม่ ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์และเทคโนโลยีในการให้บริการผู้ป่วยในกลุ่มโรคสำคัญจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
การพัฒนามาตรฐานการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินเมื่อเกิดปัญหาด้านสาธารณสุขจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
การเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขในทุกระดับ เพื่อรับมือผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในเชิงรุก |
ดูข้อมูล | ||||||
การพัฒนากลไกความร่วมมือทุกภาคส่วน ทั้งในและนอกระบบสาธารณสุข ในการบริหารจัดการเพื่อป้องกันและลดผลกระทบต่อสุขภาพจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
การพัฒนาโครงสร้างของสถานบริการสาธารณสุขให้พร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยเฉพาะในพื้นที่เสี่ยงภัย |
ดูข้อมูล | ||||||
การสงวนและคุ้มครองพื้นที่ป่าอนุรักษ์ที่ยังคงมีสภาพป่าสมบูรณ์ โดยให้ความสำคัญกับการอนุรักษ์และบริหารจัดการกลุ่มป่า การปลูกป่าเป็นแนวเชื่อมต่อระหว่างป่า (Ecological corridor) การปลูกป่าเป็นแนวกันชน (Buffer) |
ดูข้อมูล | ||||||
การสนับสนุนการปลูกป่าและเพิ่มพื้นที่ป่า ในพื้นที่ป่าที่ถูกบุกรุกหรือทำลาย ป่าต้นน้ำที่เสื่อมโทรม หรือพื้นที่ว่างนอกเขตป่าธรรมชาติ รวมทั้งพื้นที่ป่าของเอกชน |
ดูข้อมูล | ||||||
การสนับสนุนการอนุรักษ์ชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่น และชนิดพันธุ์ที่ใกล้สูญพันธุ์ในระบบนิเวศบนบก โดยเฉพาะอย่างยิ่งสัตว์กินเนื้อ ซึ่งได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งป้องกันชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่อาจแพร่ระบาดเพิ่มมากขึ้นจากสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป |
ดูข้อมูล | ||||||
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดไฟป่าโดยสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน โดยการเพิ่มศักยภาพเครือข่ายประชาชนในการป้องกันและควบคุมไฟป่า |
ดูข้อมูล | ||||||
การผลักดันการประกาศเขตคุ้มครองในพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความเปราะบางเชิงนิเวศ และเสี่ยงต่อการถูกคุกคามความหลากหลายทางชีวภาพที่อยู่นอกเขตอนุรักษ์ |
ดูข้อมูล | ||||||
การพัฒนาตัวชี้วัดความสมบูรณ์ของระบบนิเวศ (Biological indicators) ของระบบนิเวศต่าง ๆ ให้ครอบคลุมพื้นที่เปราะบางเชิงทั่วประเทศ |
ดูข้อมูล | ||||||
การส่งเสริมและพัฒนาชุมชนที่มีวิถีชีวิตเชิงนิเวศ (Eco-villages) ให้สามารถอยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างกลมกลืน และเพิ่มบทบาทของชุมชนในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ |
ดูข้อมูล | ||||||
การส่งเสริมความร่วมมือจากภาคเอกชนและภาคประชาชนในการสงวนรักษาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ ผ่านแนวทางการดำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) |
ดูข้อมูล | ||||||
การสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และเพิ่มขีดความสามารถให้กับทุกภาคส่วนที่ เกี่ยวข้องโดยใช้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและการใช้ความหลากหลายทางชีวภาพและประโยชน์ต่าง ๆ จากระบบนิเวศ เช่น แนวทางการปรับตัวโดยอาศัยระบบนิเวศ (Ecosystem-based Adaptation: EbA) |
ดูข้อมูล | ||||||
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็นและมีความคงทนและสามารถให้บริการได้อย่างต่อเนื่องในสภาวะฉุกเฉิน และประชาชนสามารถเข้าถึงโครงสร้างพื้นฐานหลักได้สะดวกทั้งในสถานการณ์ปกติ และหลังการเกิดภัย |
ดูข้อมูล | ||||||
การผลักดันให้มีข้อกำหนดของผังเมืองหรือกฎหมายควบคุมอาคารในพื้นที่ที่อาจได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
การสนับสนุนแนวทางการพัฒนาโดยใช้ประโยชน์ที่ดินแบบผสมผสาน (Mixed use) |
ดูข้อมูล | ||||||
การพัฒนาพื้นที่สีเขียวอเนกประโยชน์ที่เพิ่มมากขึ้นและเชื่อมต่อกันทั้งภายในเมืองและบริเวณใกล้เคียง |
ดูข้อมูล | ||||||
การประสานและจัดทำแผนในการสำรองระบบที่มีความจำเป็นในการดำรงชีวิตในระดับพื้นที่ เพื่อรองรับกรณีเกิดภัยพิบัติที่สืบเนื่องจากสภาพภูมิอากาศหรือภาวะวิกฤติ |
ดูข้อมูล | ||||||
การเพิ่มขีดความสามารถของภาคธุรกิจและภาคอุตสาหกรรมในการเตรียมความพร้อมและบริหารจัดการความเสี่ยงจากผลกระทบการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
การกำหนดแนวทางเพื่อรับมือผลกระทบจากภาวะอุณหภูมิสูงขึ้นหรือปรากฏการณ์เกาะความร้อน ในเมืองขนาดใหญ่ |
ดูข้อมูล | ||||||
การผลักดันให้ท้องถิ่นบูรณาการประเด็นด้านการปรับตัวและรับมือกับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เข้ากับแผนและยุทธศาสตร์การพัฒนาเมือง ชุมชน และท้องถิ่น |
ดูข้อมูล | ||||||
การจัดทำผังเมืองเฉพาะ ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการปรับตัวต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
การปรับเปลี่ยนรูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
การจัดทำแผนผังการใช้ประโยชน์ที่ดินที่สงวนรักษาพื้นที่ที่มีคุณค่าทางธรรมชาติ พื้นที่เกษตรกรรม แหล่งน้ำ การอนุรักษ์พื้นที่สีเขียว |
ดูข้อมูล | ||||||
การจัดทำแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในระดับท้องถิ่นที่มีความเชื่อมโยงกับแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในระดับชาติ |
ดูข้อมูล | ||||||
การสร้างเครือข่ายเชื่อมโยงข่าวสารข้อมูลให้ทันต่อเหตุการณ์ กำหนดบทบาทและแนวปฏิบัติที่ชัดเจนในการเตือนภัยและสื่อสารข้อมูลที่เกี่ยวข้องภายในชุมชนให้ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ |
ดูข้อมูล | ||||||
การพัฒนาระบบสำรองที่จำเป็นภายในครัวเรือนหรือชุมชนในพื้นที่เสี่ยงภัยหรือเมื่อถึงฤดูกาลที่เสี่ยงภัย |
ดูข้อมูล | ||||||
การพัฒนาเกณฑ์และตัวชี้วัดความสามารถในการปรับตัวต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเมือง |
ดูข้อมูล | ||||||
การพัฒนากลไกการเตือนภัยพิบัติและรายงานสถานการณ์เตือนภัยพิบัติที่ครอบคลุมสำหรับเมืองในทุกระดับ ที่มีความแม่นยำ เข้าถึงง่าย ทันต่อเหตุการณ์ และสามารถเชื่อมโยงกับระบบเตือนภัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างสมบูรณ์ และสนับสนุนให้ประชาชนทุกกลุ่มสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ |
ดูข้อมูล | ||||||
การผลักดันให้มีการผนวกรวมประเด็นเรื่องของสิ่งปลูกสร้างที่สอดคล้องกับสภาพอากาศ (Climate resilience building) เป็นมาตรฐานและหลักเกณฑ์ในการออกแบบก่อสร้างอาคารภายใต้พรบ.ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 |
ดูข้อมูล | ||||||
การส่งเสริมการพัฒนาสิ่งปลูกสร้างที่ใช้แนวคิดเรื่องสถาปัตยกรรมที่สอดคล้องกับสภาพอากาศ (Climate resilience architecture) โดยอาศัยหลักการออกแบบที่ปรับเปลี่ยนได้ตามสถานการณ์ (Adaptive design) |
ดูข้อมูล | ||||||
การผลักดันให้โครงการลงทุนขนาดใหญ่ของภาครัฐต้องจัดทำการวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change Benefit Analysis: CCBA) |
ดูข้อมูล | ||||||
การส่งเสริมให้ภาคเอกชนมีบทบาทในการดำเนินมาตรการรับมือและจัดการความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศผ่านกลไกทางการเงิน |
ดูข้อมูล | ||||||
การเพิ่มขีดความสามารถของภาคประชาชนโดยการให้ความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนในการรับมือและจัดการความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในการศึกษาขั้นพื้นฐาน |
ดูข้อมูล | ||||||
การสนับสนุนให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้มีรายได้น้อยที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สามารถเข้าถึงความช่วยเหลือในรูปแบบต่าง ๆ และได้รับความเป็นธรรม |
ดูข้อมูล |
