ข้อมูลสภาพการณ์ความเสี่ยง (Risk Profile) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของจังหวัด
การวิเคราะห์ห่วงโซ่ผลกระทบ (Impact Chain Analysis)
ตารางความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขา
ตารางแสดงความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขาทั้งหมด
โครงการ / เรื่อง | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ด้านที่ 1 |
ด้านที่ 2 |
ด้านที่ 3 |
ด้านที่ 4 |
ด้านที่ 5 |
ด้านที่ 6 |
จัดการ | |
1. สร้างแหล่งกักเก็บนํ้าเพิ่มเติม |
ดูข้อมูล | ||||||
2. อนุรักษ์พื้นที่ต้นนํ้า สร้างแหล่งเก็บกัก ฝายชะลอนํ้า |
ดูข้อมูล | ||||||
3. วางระบบกระจายนํ้าให้เหมาะสม ลดการสูญเสียนํ้า |
ดูข้อมูล | ||||||
4. โครงการประยุกต์ใช้แผนที่ภาพถ่ายดาวเทียม ในการสำรวจพื้นที่ในชุมชน เพื่อระบุตำแหน่งของคลองส่งนํ้าหรือแหล่งนํ้าที่ต้องซ่อมแซมในอนาคตเพื่อรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
1. ธนาคารนํ้าใต้ดิน/เติมนํ้าใต้ดิน |
ดูข้อมูล | ||||||
2. พัฒนาระบบระบายนํ้าและระบบป้องกันนํ้าท่วมพื้นที่ชุมชน |
ดูข้อมูล | ||||||
3. พัฒนาระบบประปาผิวดินขนาดใหญ่ |
ดูข้อมูล | ||||||
4. การป้องกันตลิ่งริมแม่นํ้าในพื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี เพิ่มประสิทธิภาพพื้นที่ชลประทาน |
ดูข้อมูล | ||||||
1. การพัฒนาระบบการเตือนภัยล่วงหน้าด้านสถานการณ์นํ้า โดยบูรณาการข้อมูลด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ร่วมกับเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ |
ดูข้อมูล | ||||||
2. จัดกิจกรรมให้ความรู้/ประชาสัมพันธ์ให้กับประชาชนปลูกฝังคนในพื้นที่ |
ดูข้อมูล | ||||||
3. รณรงค์การใช้นํ้าอย่างประหยัดให้กับประชาชน |
ดูข้อมูล | ||||||
4. อาสาสมัครชลประทาน ยุวเกษตรกร |
ดูข้อมูล | ||||||
5. การออกข้อกฎหมายเกี่ยวกับการใช้นํ้า และการเป็นพื้นที่รองรับนํ้า |
ดูข้อมูล | ||||||
1. กองทุนช่วยเหลือหลังประสบเหตุอุทกภัย-ภัยแล้ง |
ดูข้อมูล | ||||||
2. มาตรการพักการชำระหนี้กับผู้ที่ได้รับผลกระทบ |
ดูข้อมูล | ||||||
3. ส่งเสริมให้มีการประกันภัย |
ดูข้อมูล | ||||||
1. ปรับปรุงและพัฒนาแหล่งกักเก็บนํ้าเดิม (พัฒนาแหล่งนํ้าใหม่) ระบบส่งนํ้า และระบบชลประทานที่มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น |
ดูข้อมูล | ||||||
2. ระบบแจ้งเตือนภัยล่วงหน้าและความแม่นยำในการพยากรณ์สภาพภูมิอากาศ เช่น ภัยแล้ง นํ้าท่วม ฯลฯ ต่อผลผลิตทางการเกษตร |
ดูข้อมูล | ||||||
3. ส่งเสริมการเพาะปลูกพืชแบบผสมผสาน เพื่อลดความเสี่ยงและความเสียหายจากโรคและแมลง |
ดูข้อมูล | ||||||
4. ปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิตและชนิดพืชให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
5. ส่งเสริมการทำเกษตรสมัยใหม่ที่ใช้เทคโนโลยีในการจัดการ เช่น ระบบเซ็นเซอร์ การใช้แอพพลิเคชันสภาพภูมิอากาศในการวางแผนการเพาะปลูก |
ดูข้อมูล | ||||||
6. สำรองเครื่องสูบนํ้า |
ดูข้อมูล | ||||||
1. ส่งเสริมและพัฒนากำลังคน สร้างทักษะที่จำเป็นรองรับภาคการเกษตร รวมทั้งส่งเสริมการเรียนรู้และฝึกอบรมด้านเทคโนโลยี |
ดูข้อมูล | ||||||
2. ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบแจ้งเตือนภัยล่วงหน้าและความแม่นยำในการพยากรณ์สภาพภูมิอากาศ ให้กับประชาชน |
ดูข้อมูล | ||||||
3. ส่งเสริมการจัดทำแผนทำการเกษตรการ/นวัตกรรมปฏิทินการเพาะปลูก เช่น ทำโมบายแอพพลิเคชันที่ช่วยแนะนำเกษตรกรถึงวิธีการเพาะปลูกที่ถูกต้องตามกรอบเวลา (crop calendar) |
ดูข้อมูล | ||||||
4. การประชาสัมพันธ์เชิงรุกผ่านสื่อต่าง ๆ ให้ครอบคลุมและทั่วถึง |
ดูข้อมูล | ||||||
5. ศึกษาวิจัยทางด้านการเกษตร และการปรับเปลี่ยนรูปแบบการทำเกษตร |
ดูข้อมูล | ||||||
1. ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการกำหนดนโยบาย |
ดูข้อมูล | ||||||
2. สร้างมาตรการ/แรงจูงใจในการรักษาพื้นที่ทางการเกษตร/การใช้ประโยชน์ที่ดินตาม Zoning by Agri-Map |
ดูข้อมูล | ||||||
3. แผนป้องกันและบรรเทาภัยพิบัติทางการเกษตร |
ดูข้อมูล | ||||||
4. กองทุนให้ความช่วยเหลือด้านภัยแล้ง |
ดูข้อมูล | ||||||
1. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานภายในพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวของจังหวัด (เช่น ถนนเข้าสู่พื้นที่ป้ายบอกทาง บริเวณจอดรถ) |
ดูข้อมูล | ||||||
2. พัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกและบริการสาธารณะ เพื่อรองรับนักท่องเที่ยว |
ดูข้อมูล | ||||||
3. ปรับปรุงเส้นทางศึกษาธรรมชาติ และเส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศ รวมทั้งพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมวิถีชีวิตการท่องเที่ยวตามรอยอาหารท้องถิ่น เพื่อเป็นทางเลือกให้นักท่องเที่ยว ในช่วงที่สภาพภูมิอากาศไม่เอื้ออำนวย |
ดูข้อมูล | ||||||
4. พัฒนาให้เกิดการท่องเที่ยวรูปแบบใหม่ เช่น การท่องเที่ยวทางรถไฟ การท่องเที่ยวทางนํ้า ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ได้มาตรฐาน สำหรับการรองรับนักท่องเที่ยว และจัดการแหล่งท่องเที่ยวให้มีความหลากหลายและต่อยอดสู่การท่องเที่ยวอย่างครบวงจร |
ดูข้อมูล | ||||||
5. พัฒนาระบบกลไกการแจ้งเตือนภัยธรรมชาติ เช่น นํ้าป่าไหลหลาก ไฟป่า และเตือนภัยล่วงหน้าด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแก่นักท่องเที่ยวและผู้ประกอบการในธุรกิจท่องเที่ยว |
ดูข้อมูล | ||||||
6. ส่งเสริมการท่องเที่ยวตามฤดูกาล |
ดูข้อมูล | ||||||
1. ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรและผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยวสู่มาตรฐานการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (GSTC) |
ดูข้อมูล | ||||||
2. ประชาสัมพันธ์ข้อมูลด้านการท่องเที่ยวในเว็บไซต์ของหน่วยงานราชการในจังหวัด ผู้มีอิทธิพลในสื่อ Social media ช่วยประชาสัมพันธ์ |
ดูข้อมูล | ||||||
3. พัฒนาแอพพลิเคชันในการเลือกสถานที่ท่องเที่ยวให้เหมาะสมกับพื้นที่และสภาพอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
1. ผลักดันให้การท่องเที่ยวเป็นนโยบายทั้งจังหวัดและเข้าสู่แผนพัฒนาจังหวัด |
ดูข้อมูล | ||||||
2. มาตรการ/กลไก/เครื่องมือ/กฎระเบียบด้านลดภาษีเพื่อสนับสนุนผู้ประกอบการท่องเที่ยวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและการปรับตัวต่อสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
3. ประเมินความเสี่ยงและจัดทำแผนการพัฒนาการท่องเที่ยวในเชิงพื้นที่เพื่อเตรียมรับกับความเสี่ยงด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
4. ผลักดันให้เกิดเป็นกฎหมาย มาตรการระเบียบปฏิบัติ ในพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ เช่น โบราณสถานเมือง ศรีมโหสถ |
ดูข้อมูล | ||||||
5. จัดตั้งกองทุนสนับสนุนรถขนส่งสาธารณะในการท่องเที่ยวในจังหวัด |
ดูข้อมูล | ||||||
1. เตรียมความพร้อมด้านการแพทย์/อุปกรณ์เพื่อรองรับผู้ป่วย/ผู้ได้รับผลกระทบ ประสานเครือข่ายสถานพยาบาลย่อย ติดตาม/ดูแลประชาชนอย่างใกล้ชิด (รพ.สต.) |
ดูข้อมูล | ||||||
2. พัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์และสาธารณสุขรวมทั้งเครื่องมือทางการแพทย์และเวชภัณฑ์ของภาครัฐและเอกชน |
ดูข้อมูล | ||||||
3. พัฒนาระบบการให้บริการด้านสาธารณสุขเพื่อรองรับกับเกิดของโรคอุบัติใหม่ |
ดูข้อมูล | ||||||
4. จัดตั้งศูนย์ข้อมูลข่าวสารร่วม เพื่อเป็นศูนย์กลางการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และพัฒนาระบบสื่อสารเพื่อการประสานงานช่วยเหลือ/รายงานสถานการณ์ภัยพิบัติพร้อมยกระดับกรณีฉุกเฉิน |
ดูข้อมูล | ||||||
5. พัฒนาเครื่องมือในการเตือนภัยความเสี่ยงจากความร้อนโดยเฉพาะประชากรกลุ่มเปราะบาง เพื่อใช้ในการเฝ้าระวังและเตือนภัยป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพ อาทิ เครื่องมือการตรวจวัดความร้อนในระดับชุมชน |
ดูข้อมูล | ||||||
6. พัฒนาให้มีระบบการพยากรณ์โรค (Prognosis) และการแจ้งเตือนภัย (Warning system) พร้อมทั้ง มีการกระจายข้อมูลข่าวสารระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง |
ดูข้อมูล | ||||||
1. จัดทีมหน่วยบริการแพทย์เคลื่อนที่ด้านสุขภาพเชิงรุก |
ดูข้อมูล | ||||||
2. จัดทีมบุคลากรให้คำปรึกษาด้านสุขภาพจิตเพื่อลดความเครียด และช่องทางการให้คำปรึกษาออนไลน์ เช่น เรื่องการจัดการความเครียด การดูแลรักษาสุขภาพเบื้องต้น |
ดูข้อมูล | ||||||
3. จัดตั้งศูนย์ประสานงานช่วยเหลือในพื้นที่ประสบภัย |
ดูข้อมูล | ||||||
4. เสริมสร้างศักยภาพชุมชน/เยาวชนด้านการป้องกัน การรักษาพยาบาลเบื้องต้น การบรรเทาโรค การสุขาภิบาล และอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อให้สามารถช่วยตนเองและผู้อื่นได้ |
ดูข้อมูล | ||||||
1. จัดสรรงบประมาณเพื่อดูแลประชาชนด้านอาหาร, สุขภาพ, ที่อยู่อาศัย |
ดูข้อมูล | ||||||
2. สนับสนุนเครื่องมือ เครื่องจักรกลยานพาหนะ ในการอพยพประสบภัย และเยียวยาผู้ประสบภัย |
ดูข้อมูล | ||||||
3. ประสานงานภาคี เครือข่าย เพื่อดูแลประชาชนได้อย่างรวดเร็วหรือด้านการส่งตัวต่อเข้ารับการรักษาสถานพยาบาลศักยภาพสูง |
ดูข้อมูล | ||||||
4. จัดทำแผนปฏิบัติการด้านสาธารณสุข |
ดูข้อมูล | ||||||
1. การปลูกต้นไม้และฟื้นฟูป่า |
ดูข้อมูล | ||||||
2. ทำแนวกันไฟ สร้างฝายชะลอนํ้าแบบผสมผสาน |
ดูข้อมูล | ||||||
3. ส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจนอกเขตพื้นที่ป่า |
ดูข้อมูล | ||||||
4. โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอัน เนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) |
ดูข้อมูล | ||||||
5. จัดทำและรวบรวมฐานข้อมูลด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมระดับจังหวัด (Big Data) |
ดูข้อมูล | ||||||
6. สร้างระบบการนำเข้าข้อมูลด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของจังหวัดปราจีนบุรี (Data Center) |
ดูข้อมูล | ||||||
7. จัดทำฐานข้อมูลทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่/ฐานข้อมูลพื้นที่เสี่ยงเกิดไฟป่า |
ดูข้อมูล | ||||||
1. พัฒนาศักยภาพเครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน (ทสม.) และอาสาสมัครพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช (อส.อส.) เพื่อป้องกัน ฟื้นฟู และแก้ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อรองรับวิถีใหม่ (New Normal) สู่ความสมดุลและยั่งยืน |
ดูข้อมูล | ||||||
2. ส่งเสริมการจัดตั้งป่าชุมชน ให้ชุมชนเป็นผู้ดูแลป่า เพื่อช่วยดูแลป่าในพื้นที่ชุมชนที่ต้องการ /ส่งเสริมการจัดตั้งสวนป่า/ส่งเสริมการปลูกต้นไม้ทั้งในเชิงเศรษฐกิจและอนุรักษ์ |
ดูข้อมูล | ||||||
3. เสริมสร้างองค์ความรู้ สร้างการรับรู้ตระหนักถึงความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ส่งผลต่อทรัพยากรธรรมชาติ |
ดูข้อมูล | ||||||
4. เพิ่มจุด/อัตราเจ้าหน้าที่ เพื่อลาดตระเวนในการป้องกันการตัดไม้ทำลายป่า และป้องกัน/ควบคุมการเกิดไฟป่า |
ดูข้อมูล | ||||||
5. สร้างความรู้ความเข้าใจและพัฒนาศักยภาพของประชาชนเพื่อปรับตัวรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติทางธรรมชาติ |
ดูข้อมูล | ||||||
6. พัฒนาศักยภาพเครือข่ายในการดำเนินงานด้านการสำรวจและเก็บตัวอย่างพรรณไม้ภายใต้ อพ.สธ. จังหวัดปราจีนบุรี |
ดูข้อมูล | ||||||
7. บูรณาการการดำเนินงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง |
ดูข้อมูล | ||||||
8. จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ให้กับประชาชนในพื้นที่ |
ดูข้อมูล | ||||||
1. เพิ่มความเข้มงวดในการบังคับใช้กฎหมายการชดเชยการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาคเอกชน |
ดูข้อมูล | ||||||
2. ปฏิบัติตามกฎระเบียบ ข้อบังคับ ตามกฎหมาย |
ดูข้อมูล | ||||||
3. จัดทำแผนป้องกันแก้ไขปัญหาไฟป่าระดับพื้นที่/แผนรองรับการเผชิญเหตุ |
ดูข้อมูล | ||||||
4. จัดทำแผนและผังพื้นที่สีเขียวและพื้นที่โล่งเพื่อรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม |
ดูข้อมูล | ||||||
5. พัฒนาแผนงานและสร้างความพร้อมของทุกภาคส่วนเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติทางธรรมชาติ |
ดูข้อมูล | ||||||
6. ปฏิบัติตามเงื่อนไขของโครงการจัดที่ดินทำกินให้ชุมชนตามนโยบายของรัฐบาล (คทช.) |
ดูข้อมูล | ||||||
7. กำหนดมาตรการในการส่งเสริมการดำเนินงานของเครือข่ายด้านการอนุรักษ์ |
ดูข้อมูล | ||||||
1. ขุดลอกผักตบชวา/สร้างฝาย |
ดูข้อมูล | ||||||
2. โครงการปรับปรุงระบบกั้นนํ้า |
ดูข้อมูล | ||||||
3. สร้างพื้นที่รองรับนํ้า อาทิ พื้นที่สีเขียวเพื่อเป็นพื้นที่รองรับนํ้า |
ดูข้อมูล | ||||||
4. ตั้งศูนย์หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องช่วยเหลือประชาชนเพื่อซ่อมแซมที่อยู่อาศัย |
ดูข้อมูล | ||||||
5. สร้างหอเตือนภัยและพัฒนาระบบเตือนภัยล่วงหน้าเพื่อป้องกันผลกระทบของภัยนํ้าท่วมนํ้าแล้ง อุณหภูมิสูงต่อประชาชนที่อาศัยอยู่ในเมืองหรือตั้งถิ่นฐานอยู่ในพื้นที่เสี่ยง เช่น ชุมชนที่อาศัยอยู่ริมแม่นํ้า |
ดูข้อมูล | ||||||
6. โครงการออกแบบที่อยู่อาศัย เพื่อรับมือกับปัญหานํ้าท่วม อุณหภูมิสูงหรือความร้อน |
ดูข้อมูล | ||||||
7. ศูนย์พักพิงที่มีศักยภาพในการดูแลสุขภาพและความปลอดภัยของมนุษย์ |
ดูข้อมูล | ||||||
1. ประชาสัมพันธ์ข้อมูลด้านบรรเทาสาธารณภัยการป้องกันผลกระทบของภัยนํ้าท่วมและอุณหภูมิสูง |
ดูข้อมูล | ||||||
2. จัดกิจกรรมให้ความรู้/ประชาสัมพันธ์ให้กับประชาชนโรคระบาดที่มากับนํ้า และการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
3. แจกถุงยังชีพ |
ดูข้อมูล | ||||||
1. จัดทำแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในระดับอำเภอ และ อปท. |
ดูข้อมูล | ||||||
2. ออกระเบียบ กฎหมาย ข้อบัญญัติท้องถิ่นให้เหมาะสมกับการออกแบบที่อยู่อาศัยสอดรับกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
3. กองทุนช่วยเหลือหลังประสบเหตุ |
ดูข้อมูล |