ข้อมูลสภาพการณ์ความเสี่ยง (Risk Profile) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของจังหวัด
การวิเคราะห์ห่วงโซ่ผลกระทบ (Impact Chain Analysis)
ตารางความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขา
ตารางแสดงความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขาทั้งหมด
โครงการ / เรื่อง | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ด้านที่ 1 |
ด้านที่ 2 |
ด้านที่ 3 |
ด้านที่ 4 |
ด้านที่ 5 |
ด้านที่ 6 |
จัดการ | |
1. ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมในการกาหนดนโยบายและวางแผนการใช้ประโยชน์ที่ดิน การจัดการน้าและป่าในลุ่มน้ำ |
ดูข้อมูล | ||||||
2. ส่งเสริมให้เกิดการผสานภูมิปัญญาท้องถิ่นร่วมกับการจัดการน้ำโดยใช้นวัตกรรมที่เหมาะสมกับการบริหารจัดการน้ำตามบริบทของจังหวัด |
ดูข้อมูล | ||||||
3. เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน้ำต้นทุนและแหล่งกักเก็บน้ำ โดยกำหนดสัดส่วนการใช้น้ำในกิจกรรมต่างๆ ให้เหมาะสมกับปริมาณน้ำท่าและน้ำกักเก็บในลุ่มน้ำ |
ดูข้อมูล | ||||||
1. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในการเตรียมรับมือกับอุทกภัยที่มีความสอดคล้องกับสภาพพื้นที่ ระบบนิเวศ และชุมชน |
ดูข้อมูล | ||||||
2. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสำหรับสำรองน้ำฝนและจัดสรรน้ำในพื้นที่ประสบภัยแล้งซ้ำซาก พื้นที่นอกเขตชลประทาน และพื้นที่ที่ยังใช้น้ำบาดาล |
ดูข้อมูล | ||||||
3. สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังภัยพิบัติในพื้นที่เสี่ยง โดยการเสริมสร้างศักยภาพชุมชนในการเตรียมความพร้อมตั้งแต่ระดับครัวเรือน ไปจนถึงระดับจังหวัด |
ดูข้อมูล | ||||||
4. เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน้ำใต้ดินร่วมกับการใช้น้ำผิวดินในพื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง |
ดูข้อมูล | ||||||
5. จัดทำแผนป้องกันและลดมลพิษในกรณีอุทกภัยในพื้นที่เสี่ยง |
ดูข้อมูล | ||||||
6. พัฒนาระบบช่วยเหลือ ชดเชย หรือระบบประกันภัยพิบัติที่เกี่ยวข้องกับการจัดการน้ำ |
ดูข้อมูล | ||||||
1. จัดทำแผนที่พื้นที่เกษตรเสี่ยงภัยและคาดการณ์ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในระดับจังหวัด และเผยแพร่ให้เกษตรกรสามารถเข้าถึงข้อมูลและใช้ประโยชน์ได้ |
ดูข้อมูล | ||||||
2. ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนรูปแบบการทำการเกษตรให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
3. พัฒนาการจัดการระบบปศุสัตว์และการผลิตสินค้าจากปศุสัตว์ให้สอดคล้องกับแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
4. สร้างความตระหนักรู้ต่อเกษตรกรถึงผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคเกษตร และพัฒนาศักยภาพในการรับมือและจัดการความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
5. ส่งเสริมการปรับปรุงพันธุ์พืช สัตว์ และสนับสนุนการเข้าถึงของเกษตรกรให้สามารถใช้พันธุ์พืช สัตว์ที่เหมาะสมต่อการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยทางภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
1. พัฒนาและปรับปรุงการจัดการน้ำของพื้นที่เกษตรกรรมในเขตชลประทานที่มีความเสี่ยงต่อการได้รับผลกระทบจากอุทกภัยและภัยแล้งให้มีประสิทธิภาพ |
ดูข้อมูล | ||||||
2. พัฒนาแหล่งน้ำในพื้นที่เกษตรกรรมนอกเขตชลประทานให้มีประสิทธิภาพและเพียงพอต่อความต้องการใช้การเพาะปลูกและการทำปศุสัตว์ |
ดูข้อมูล | ||||||
3. ส่งเสริมการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และบำรุงรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดินในพื้นที่เกษตรกรรมที่มีความเสื่อมโทรมของดิน |
ดูข้อมูล | ||||||
4. ส่งเสริมการจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจ (Agro-economics zone) ที่มีความเหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่ |
ดูข้อมูล | ||||||
1. จัดทำแผนที่เสี่ยงจากภัยพิบัติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของแหล่งท่องเที่ยว และพัฒนาระบบเตือนภัยพิบัติที่มีประสิทธิภาพ |
ดูข้อมูล | ||||||
2. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของแหล่งท่องเที่ยวที่สอดคล้องกับระบบนิเวศและวัฒนธรรมท้องถิ่น เพื่อลดผลกระทบจากภัยพิบัติ และลดความเสี่ยงจากสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
3. ปรับปรุงปฏิทินการท่องเที่ยวให้สอดคล้องกับฤดูกาลที่เปลี่ยนแปลงไป |
ดูข้อมูล | ||||||
4. สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังและแจ้งเตือนภัยด้านการท่องเที่ยวในการรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
5. สร้างความตระหนักและเสริมสร้างขีดความสามารถของผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในการลดผลกระทบและรับมือความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
1. พัฒนารูปแบบการท่องเที่ยวในพื้นที่เสี่ยง ที่คารึงถึงศักยภาพในการรอวรับของพื้นที่ (carrying capacity) ที่เหมาะสมกับสภาพของอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป |
ดูข้อมูล | ||||||
2. พัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวในรูปแบบที่หลากหลายเพื่อสนับสนุนการเพิ่มภูมิคุ้มกันและลดความเสี่ยงต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในพื้นที่ท่องเที่ยวที่มีศักยภาพ |
ดูข้อมูล | ||||||
3. เพิ่มขีดความสามารถของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดการรูปแบบการท่องเที่ยวเพื่อรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
1. ป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพของชุมชนในพื้นที่เสี่ยงและประชากรกลุ่มเสี่ยง |
ดูข้อมูล | ||||||
2. พัฒนากลไกความร่วมมือทุกภาคส่วน ทั้งในและนอกระบบสาธารณสุข ในการบริหารจัดการเพื่อป้องกันและลดผลกระทบต่อสุขภาพจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
3. เสริมสร้างศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขในทุกระดับเพื่อรับมือผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในเชิงรุก |
ดูข้อมูล | ||||||
1. พัฒนาขีดความสามารถของหน่วยงานและบุคลากรสาธารณสุขในการลดและแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
1. สงวนและคุ้มครองพื้นที่ป่าอนุรักษ์ที่ยังคงมีสภาพป่าสมบูรณ์ โดยให้ความสำคัญกับการอนุรักษ์และบริหารจัดการกลุ่มป่า การปลูกป่าเป็นแนวเชื่อมต่อระหว่างป่า (Ecological corridor) การปลูกป่าเป็นแนวกันชน (Buffer) |
ดูข้อมูล | ||||||
2. สนับสนุนการปลูกป่าและเพิ่มพื้นที่ป่า ในพื้นที่ป่าถูกบุกรุกหรือทาลาย ป่าต้นน้ำที่เสื่อมโทรม หรือพื้นที่ว่างนอกเขตป่าธรรมชาติ |
ดูข้อมูล | ||||||
3. สนับสนุนและส่งเสริมกลไกการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิเวศต่างๆ |
ดูข้อมูล | ||||||
4. ผลักดันการประกาศเขตคุ้มครองในพื้นที่มีความเปราะบางเชิงนิเวศ และเสี่ยงต่อการถูกคุกคามความหลากหลายทางชีวภาพที่อยู่นอกเขตป่าอนุรักษ์ |
ดูข้อมูล | ||||||
5. พัฒนาระบบฐานข้อมูล การคาดการณ์ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อระบบนิเวศและทรัพยากรธรรมชาติ |
ดูข้อมูล | ||||||
6. พัฒนาระบบติดตามและประเมินตัวชี้วัดความสมบูรณ์ของระบบนิเวศ (Biological indicators) ของระบบนิเวศต่างๆ ให้ครอบคลุมพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่ทั่วจังหวัด |
ดูข้อมูล | ||||||
1. พัฒนากลไกที่ช่วยส่งเสริมบทบาทของชุมชนที่มีวิถีชีวิตเชิงนิเวศในการสงวนรักษาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนิเวศ และความหลากหลายทางชีวภาพ |
ดูข้อมูล | ||||||
2. ส่งเสริมและพัฒนาชุมชนที่มีวิถีชีวิตเชิงนิเวศ (Eco-villages) ให้สามารถอยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างกลมกลืน และเพิ่มบทบาทของชุมชนในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ |
ดูข้อมูล | ||||||
3. ส่งเสริมความร่วมมือจากภาคเอกชนและภาคประชาชนในการสงวนรักษาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพผ่านแนวทางการดาเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม |
ดูข้อมูล | ||||||
4. พัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดไฟป่าโดยสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน โดยการเพิ่มศักยภาพเครือข่ายประชาชนในการป้องกันและควบคุมไฟป่า |
ดูข้อมูล | ||||||
5. สร้างเครือข่ายการเฝ้าระวังและติดตามตัวชี้วัดความสมบูรณ์ของระบบนิเวศ |
ดูข้อมูล | ||||||
6. สร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและเพิ่มขีดความสามารถให้กับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องโดยใช้หลักการปรับตัวโดยอาศัยระบบนิเวศ (Ecosystem-based Adaptation หรือ EbA) ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและการใช้ความหลากหลายทางชีวภาพ และประโยชน์ต่างๆ จากระบบนิเวศ |
ดูข้อมูล | ||||||
1. สงวนและคุ้มครองพื้นที่ป่าอนุรักษ์ที่ยังคงมีสภาพป่าสมบูรณ์ โดยให้ความสำคัญกับการอนุรักษ์และบริหารจัดการกลุ่มป่า การปลูกป่าเป็นแนวเชื่อมต่อระหว่างป่า (Ecological corridor) การปลูกป่าเป็นแนวกันชน (Buffer) |
ดูข้อมูล | ||||||
2. สนับสนุนการปลูกป่าและเพิ่มพื้นที่ป่า ในพื้นที่ป่าถูกบุกรุกหรือทาลาย ป่าต้นน้ำที่เสื่อมโทรม หรือพื้นที่ว่างนอกเขตป่าธรรมชาติ |
ดูข้อมูล | ||||||
3. สนับสนุนและส่งเสริมกลไกการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิเวศต่างๆ |
ดูข้อมูล | ||||||
4. ผลักดันการประกาศเขตคุ้มครองในพื้นที่มีความเปราะบางเชิงนิเวศ และเสี่ยงต่อการถูกคุกคามความหลากหลายทางชีวภาพที่อยู่นอกเขตป่าอนุรักษ์ |
ดูข้อมูล | ||||||
5. พัฒนาระบบฐานข้อมูล การคาดการณ์ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อระบบนิเวศและทรัพยากรธรรมชาติ |
ดูข้อมูล | ||||||
6. พัฒนาระบบติดตามและประเมินตัวชี้วัดความสมบูรณ์ของระบบนิเวศ (Biological indicators) ของระบบนิเวศต่างๆ ให้ครอบคลุมพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่ทั่วจังหวัด |
ดูข้อมูล | ||||||
1. พัฒนากลไกที่ช่วยส่งเสริมบทบาทของชุมชนที่มีวิถีชีวิตเชิงนิเวศในการสงวนรักษาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนิเวศ และความหลากหลายทางชีวภาพ |
ดูข้อมูล | ||||||
2. ส่งเสริมและพัฒนาชุมชนที่มีวิถีชีวิตเชิงนิเวศ (Eco-villages) ให้สามารถอยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างกลมกลืน และเพิ่มบทบาทของชุมชนในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ |
ดูข้อมูล | ||||||
3. ส่งเสริมความร่วมมือจากภาคเอกชนและภาคประชาชนในการสงวนรักษาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพผ่านแนวทางการดาเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม |
ดูข้อมูล | ||||||
4. พัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดไฟป่าโดยสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน โดยการเพิ่มศักยภาพเครือข่ายประชาชนในการป้องกันและควบคุมไฟป่า |
ดูข้อมูล | ||||||
5. สร้างเครือข่ายการเฝ้าระวังและติดตามตัวชี้วัดความสมบูรณ์ของระบบนิเวศ |
ดูข้อมูล | ||||||
6. สร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและเพิ่มขีดความสามารถให้กับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องโดยใช้หลักการปรับตัวโดยอาศัยระบบนิเวศ (Ecosystem-based Adaptation หรือ EbA) ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและการใช้ความหลากหลายทางชีวภาพ และประโยชน์ต่างๆ จากระบบนิเวศ |
ดูข้อมูล |