ข้อมูลสภาพการณ์ความเสี่ยง (Risk Profile) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของจังหวัด
การวิเคราะห์ห่วงโซ่ผลกระทบ (Impact Chain Analysis)
ตารางความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขา
ตารางแสดงความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขาทั้งหมด
โครงการ / เรื่อง | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ด้านที่ 1 |
ด้านที่ 2 |
ด้านที่ 3 |
ด้านที่ 4 |
ด้านที่ 5 |
ด้านที่ 6 |
จัดการ | |
1. อนุรักษ์และฟื้นฟูสภาพป่าต้นน้ำที่เสื่อมโทรม และป้องกันการพังทลายของดิน |
ดูข้อมูล | ||||||
2. อนุรักษ์และฟื้นฟูแม่น้ำลำคลองและแหล่งน้ำธรรมชาติ โดยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน |
ดูข้อมูล | ||||||
3. จัดทำแผนที่เสี่ยงภัยและคาดการณ์ผลกระทบด้านการจัดการน้ำจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในระดับพื้นที่ |
ดูข้อมูล | ||||||
4. สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังภัยพิบัติในพื้นที่เสี่ยง |
ดูข้อมูล | ||||||
1. เพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำโดยการปรับปรุงสิ่งกีดขวางทางน้ำการปรับปรุงแหล่งน้ำธรรมชาติที่ตื้นเขิน |
ดูข้อมูล | ||||||
2. พัฒนาระบบป้องกันน้ำท่วมในเขตเมือง |
ดูข้อมูล | ||||||
3. จัดทำแผนป้องกันและลดมลพิษในกรณีอุทกภัยในพื้นที่เสี่ยง |
ดูข้อมูล | ||||||
2. ส่งเสริมการเพาะปลูกพืชแบบผสมผสานเพื่อลดความเสี่ยงและความเสียหายจากการระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืชจากสภาพอากาศที่เปลี่ยนไป |
ดูข้อมูล | ||||||
3. ส่งเสริมการอนุรักษ์ฟื้นฟู และบำรุงรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดินในพื้นที่เกษตรกรรม |
ดูข้อมูล | ||||||
4. ส่งเสริมการผลิตตามแนวเกษตรทฤษฎีใหม่เกษตรกรรมยั่งยืนการเกษตรผสมผสานที่มีความเสื่อมโทรมของดิน |
ดูข้อมูล | ||||||
1. ปรับปรุงปฏิทินการท่องเที่ยวให้สอดคล้องกับฤดูกาลที่เปลี่ยนแปลงไป |
ดูข้อมูล | ||||||
2. กำหนดรูปแบบการท่องเที่ยวในพื้นที่เสี่ยงช่วงเวลาการให้บริการที่เหมาะสม และพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว |
ดูข้อมูล | ||||||
3. จัดทำแผนการรับมือในสถานการณ์เกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติทั้ง แผนการหลบภัยการอพยพและการสำรองอาหารและน้ำดื่มให้สอดคล้องกับฤดูกาลที่เปลี่ยนแปลงไป |
ดูข้อมูล | ||||||
1. การเพิ่มขีดความสามารถในการป้องกันและดูแลสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง |
ดูข้อมูล | ||||||
2. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และระบบสำรองสาธารณูปโภคในสถานบริการสุขภาพที่มีความเสี่ยงจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ |
ดูข้อมูล | ||||||
1. สนับสนุนการปลูกป่า และเพิ่มพื้นที่ป่าใน พื้นที่ป่าที่ถูกบุกรุก ทำลายป่าต้นน้ำที่เสื่อมโทรม หรือพื้นที่ว่างนอกเขตป่าธรรมชาติ |
ดูข้อมูล | ||||||
2. พัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดไฟป่าโดยสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน |
ดูข้อมูล | ||||||
3. สร้างเครือข่ายการเฝ้าระวังและติดตามตัวชี้วัดความสมบูรณ์ของระบบนิเวศ |
ดูข้อมูล | ||||||
4. ส่งเสริมและพัฒนาชุมชนที่มีวิถีชีวิตเชิงนิเวศ (Eco-villages) และเพิ่มบทบาทของชุมชนในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ |
ดูข้อมูล | ||||||
1. พัฒนาและจัดทำแผนในการสำรองระบบที่มีความจำเป็นในการดำรงชีวิตในกรณีเกิดภัยพิบัติหรือภาวะวิกฤติ |
ดูข้อมูล | ||||||
2. จัดทำแผนผังการใช้ประโยชน์ที่ดินที่สงวนรักษาพื้นที่ที่มีคุณค่าทางธรรมชาติ พื้นที่เกษตรกรรม แหล่งน้ำการอนุรักษ์พื้นที่สีเขียว |
ดูข้อมูล | ||||||
3. จัดทำแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในระดับท้องถิ่นที่มีความเชื่อมโยงกับแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในระดับชาติ |
ดูข้อมูล | ||||||
4. เพิ่มขีดความสามารถของภาคประชาชน โดยการให้ความรู้ ความเข้าใจในการรับมือและจัดการความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในการศึกษาขั้นพื้นฐาน |
ดูข้อมูล | ||||||
5. สนับสนุนให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้มีรายได้น้อยที่ได้รับผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศสามารถเข้าถึงความช่วยเหลือในรูปแบบต่างๆ และได้รับความเป็นธรรม |
ดูข้อมูล |