หน้าหลัก
E-Platform
Guest   
นครศรีธรรมราช
ปีฐาน : 2562

 

ข้อมูลสภาพการณ์ความเสี่ยง (Risk Profile) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของจังหวัด
 

การวิเคราะห์ห่วงโซ่ผลกระทบ (Impact Chain Analysis)


ตารางความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขา

ตารางแสดงความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขาทั้งหมด

   
 
 
โครงการ / เรื่อง

ด้านที่ 1

ด้านที่ 2

ด้านที่ 3

ด้านที่ 4

ด้านที่ 5

ด้านที่ 6
จัดการ

1. พัฒนาระบบประปาหมู่บ้าน ขุดเจาะบ่อบาดาลและสระน้ำ เพื่อการอุปโภคบริโภคและการเกษตร

ดูข้อมูล

2. ก่อสร้างแนวเขื่อนป้องกันการกัดเซาะริมฝั่งทะเล และแนวเขื่อนกันน้ำเค็มรุกล้ำบริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเล

ดูข้อมูล

3. อนุรักษ์และฟื้นฟูสภาพป่าต้นน้ำที่เสื่อมโทรมและป้องกันการพังทลายของดินบริเวณเทือกเขา

ดูข้อมูล

4. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสำหรับการสำรองน้ำฝน และจัดสรรน้ำในพื้นที่ประสบภัยแล้ง ซึ่งเป็นพื้นที่นอกเขตชลประทาน

ดูข้อมูล

5. เพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำโดยการขุดลอกคลองและปรับปรุงระบบการระบายน้ำที่อยู่ในเขตชุมชนเมือง

ดูข้อมูล

6. เพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำโดยสร้างทางน้ำในพื้นที่ขวางการไหลของน้ำบริเวณชุมชนเมืองและสร้างพื้นที่ทุ่งรับน้ำช่วงน้ำหลาก

ดูข้อมูล

7. พัฒนาระบบป้องกันน้ำท่วมในเขตเมือง โดยการจัดทำผังน้ำและผังการระบายน้ำ ในพื้นที่ชุมชนหนาแน่นและน้ำขังซ้ำซาก

ดูข้อมูล

8. โครงการบรรเทาอุทกภัยเมืองนครศรีธรรมราชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ

ดูข้อมูล

9. เร่งรัดให้ อปท. ออกข้อบัญญัติการจัดการน้ำเสีย

ดูข้อมูล

1. การจัดทำแผนที่เสี่ยงภัยในลักษณะของ One map ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและคาดการณ์ผลกระทบด้านการจัดการน้ำจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในระดับพื้นที่ แสดงพื้นที่เสี่ยงต่ออุทกภัย วาตภัย ภัยแล้ง

ดูข้อมูล

และดินโคลนถล่มในจังหวัดนครศรีธรรมราช

ดูข้อมูล

2. สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังภัยพิบัติที่สืบเนื่องจากสภาพภูมิอากาศในพื้นที่เสี่ยง โดยการเสริมสร้างศักยภาพชุมชนในการเตรียมความพร้อมตั้งแต่ระดับโดยการเสริมสร้างศักยภาพชุมชนในการเตรียมความพร้อมตั้งแต่ระดับครัวเรือน ระดับลุ่มน้ำไปจนถึงระดับประเทศ

ดูข้อมูล

3. จัดทำแผนป้องกันและลดมลพิษในกรณีอุทกภัยในพื้นที่เสี่ยง เพื่อเตรียมความพร้อมและป้องกันการแพร่กระจายของมลพิษ

ดูข้อมูล

1. ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิตพืชให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

2. พัฒนาแหล่งน้ำในพื้นที่เกษตรกรรมทั้งเขตชลประทานและนอกเขตชลประทานให้มีประสิทธิภาพ และป้องกันการรุกล้ำของน้ำเค็ม

ดูข้อมูล

1. จัดทำแผนที่พื้นที่เกษตรเสี่ยงภัยและคาดการณ์ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในระดับพื้นที่ โดยเฉพาะในพื้นที่ความเสี่ยงภัยพิบัติจากดินโคลนถล่ม น้ำป่าไหลหลาก

ดูข้อมูล

2. ส่งเสริมการเพาะปลูกแบบผสมผสานเพื่อลดความเสี่ยงและความเสียหายจากการระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืช

ดูข้อมูล

3. พัฒนาระบบการควบคุม ป้องกัน และบำบัดโรคสัตว์ที่เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และในกรณีโรคระบาดจากอุทกภัยและภัยแล้ง

ดูข้อมูล

4. พัฒนาการจัดการประมงในพื้นที่ชุมชนชายฝั่งทะเลให้สอดคล้องกับแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

1. พัฒนาหรือปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานภายในแหล่งท่องเที่ยวและสิ่งอำนวยความสะดวก เพื่อบรรเทาและลดผลกระทบจากสภาวะอากาศร้อนจัดให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ในแหล่งธรรมชาติและท่องเที่ยวอื่น

ดูข้อมูล

2. พัฒนาการท่องเที่ยวต่อเนื่องตลอดปี การท่องเที่ยววิถีเกษตรเพื่อความยั่งยืน สนับสนุนการท่องเที่ยวแบบคาร์บอนต่ำและส่งเสริมการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ดูข้อมูล

1. ปรับปรุงปฏิทินการท่องเที่ยวให้สอดคล้องกับฤดูกาลที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อลดความเสี่ยงและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล

ดูข้อมูล

2. เพิ่มมาตรการป้องกันความเสียหายในเชิงโครงสร้างให้กับสิ่งปลูกสร้างและสถาปัตยกรรมที่มีคุณค่าเชิงศิลปกรรมที่เสี่ยงต่อความเสียหายจากภัยพิบัติที่สืบเนื่อง

ดูข้อมูล

3. เพิ่มมาตรการจัดการแหล่งท่องเที่ยวทางทะเลที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจากสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

1. พัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรเพื่อสร้างความมั่นคงทางสุขภาพของประชาชน

ดูข้อมูล

2. พัฒนาระบบบริการสาธารณสุขเพื่อรองรับการจัดการผลกระทบด้านสุขภาพจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

1. พัฒนาโครงสร้างของสถานบริการสาธารณสุขให้พร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยเฉพาะในพื้นที่เสี่ยงภัยพิบัติจากดินโคลนถล่ม น้ำป่าไหลหลาก

ดูข้อมูล

2. เพิ่มขีดความสามารถในการป้องกันและดูแลสุขภาพใน\กลุ่มเสี่ยงด้านสุขภาพในพื้นที่เสี่ยงภัย

ดูข้อมูล

3. พัฒนาระบบเฝ้าระวังและคาดการณ์ความเสี่ยงผลกระทบต่อสุขภาพ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

4. พัฒนาศักยภาพประชาชนให้เกิดความรู้ ความเข้าใจความตระหนักในเรื่องผลกระทบต่อสุขภาพจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการแก้ไขปัญหา

ดูข้อมูล

1. อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติโดยรณรงค์ลดการตัดไม้ในเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติ สนับสนุนการปลูกป่าและเพิ่มพื้นที่ป่าในพื้นที่ป่าที่ถูกบุกรุกหรือทำลาย ป่าต้นน้ำที่เสื่อมโทรม หรือพื้นที่ว่างนอกเขตป่าธรรมชาติ รวมทั้งพื้นที่ป่าของเอกชน

ดูข้อมูล

2. เพิ่มศักยภาพอาสาสมัครป้องกันและระงับไฟป่า และเพิ่มขีดความสามารถในการจัดการความเสี่ยงการเกิดไฟไหม้ในพื้นที่ป่าพรุในจังหวัดนครศรีธรรมราช และใกล้เคียง

ดูข้อมูล

1. ส่งเสริมเครือข่ายประชาชน องค์กรชุมชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบริเวณชายฝั่งทะเลในการอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศทะเลและชายฝั่ง รวมถึงเพิ่มขีดความสามารถในการรับมือและป้องกันผลกระทบจากคลื่นพายุซัดฝั่งในบริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเล

ดูข้อมูล

2. ส่งเสริมเครือข่ายความร่วมมือในการอนุรักษ์ พัฒนา ฟื้นฟูและใช้ประโยชน์พื้นที่ชุ่มน้ำอย่างชาญฉลาดและยั่งยืน เพื่อเป็นพื้นที่รองรับน้ำ ช่วยชะลอและป้องกันน้ำท่วม โดยเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนและองค์กรปกครองท้องถิ่น

ดูข้อมูล

1. พัฒนาศักยภาพเครือข่ายในการจัดการภัยพิบัติ สาธารณภัยที่ยั่งยืนของจังหวัด และสร้างเครือข่ายเชื่อมโยงข่าวสารข้อมูลให้ทันต่อเหตุการณ์ กำหนดบทบาทและแนวปฏิบัติที่ชัดเจนในการเตือนภัยและสื่อสารข้อมูลที่เกี่ยวข้องภายในชุมชนให้ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ

ดูข้อมูล

1. จัดทำแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในระดับท้องถิ่นที่มีความเชื่อมโยงกับแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในระดับชาติ

ดูข้อมูล

2. พัฒนาระบบสำรองที่จำเป็นภายในครัวเรือนหรือชุมชนในพื้นที่เสี่ยงภัยหรือเมื่อถึงฤดูกาลที่เสี่ยงภัย

ดูข้อมูล

3. เพิ่มขีดความสามารถของภาคประชาชนโดยการให้ความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนในการรับมือและจัดการความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ดูข้อมูล
 
 

ข้อมูลสภาพการณ์ความเสี่ยง (Risk Profile) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของจังหวัด
 
ข้อมูลฐานพื้นที่

ข้อมูลฐานพื้นที่

[1] ข้อมูลพื้นฐานพื้นที่_นครศรีธรรมราช.xlsx

แบบประเมินรายการความเสี่ยง

แบบประเมินรายการความเสี่ยง

[2] แบบประเมินรายการความเสี่ยง_นครศรีธรรมราช.xlsx

Risk Profile Checklist

Risk Profile Checklist

[3] Risk Assessment checklist_นครศรีธรรมราช.xlsx