หน้าหลัก
E-Platform
Guest   
เชียงราย
ปีฐาน : 2562

 

ข้อมูลสภาพการณ์ความเสี่ยง (Risk Profile) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของจังหวัด
 

การวิเคราะห์ห่วงโซ่ผลกระทบ (Impact Chain Analysis)


ตารางความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขา

ตารางแสดงความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขาทั้งหมด

   
 
 
โครงการ / เรื่อง

ด้านที่ 1

ด้านที่ 2

ด้านที่ 3

ด้านที่ 4

ด้านที่ 5

ด้านที่ 6
จัดการ

4. โครงการสนับสนุนให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้มีรายได้น้อยที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สามารถเข้าถึงความช่วยเหลือในรูปแบบต่าง ๆ และได้รับความเป็นธรรม

ดูข้อมูล

3. โครงการเพิ่มขีดความสามารถของภาคประชาชนโดยการให้ความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนในการรับมือและจัดการความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ดูข้อมูล

2. โครงการผลักดันให้โครงการลงทุนขนาดใหญ่ของภาครัฐต้องจัดทำการวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change Benefit Analysis: CCBA)

ดูข้อมูล

1. โครงการพัฒนากลไกการเตือนภัยพิบัติและรายงานสถานการณ์เตือนภัยพิบัติที่ครอบคลุมสำหรับเมืองในทุกระดับที่มีความแม่นยำ เข้าถึงง่าย ทันต่อเหตุการณ์และสามารถเชื่อมโยงกับระบบเตือนภัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างสมบูรณ์และสนับสนุนให้ประชาชนทุกกลุ่มสามารถเข้าถึงข้อมูลได้

ดูข้อมูล

6. โครงการพัฒนาระบบสำรองที่จำเป็นภายในครัวเรือนหรือชุมชนในพื้นที่เสี่ยงภัยหรือเมื่อถึงฤดูกาลที่เสี่ยงภัย

ดูข้อมูล

5. โครงการสร้างเครือข่ายเชื่อมโยงข่าวสารข้อมูลให้ทันต่อเหตุการณ์ กำหนดบทบาทและแนวปฏิบัติที่ชัดเจนในการเตือนภัยและสื่อสารข้อมูลที่เกี่ยวข้องภายในชุมชนให้ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ

ดูข้อมูล

4. โครงการจัดทำแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในระดับท้องถิ่นที่มีความเชื่อมโยงกับแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในระดับชาติ

ดูข้อมูล

3. โครงการจัดทำแผนผังการใช้ประโยชน์ที่ดินที่สงวนรักษาพื้นที่ที่มีคุณค่าทางธรรมชาติ พื้นที่เกษตรกรรม แหล่งน้ำ การอนุรักษ์พื้นที่สีเขียว

ดูข้อมูล

2. โครงการปรับเปลี่ยนรูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

1. โครงการผลักดันให้ท้องถิ่นบูรณาการประเด็นด้านการปรับตัวและรับมือกับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เข้ากับแผนและยุทธศาสตร์การพัฒนาเมือง ชุมชน และท้องถิ่น

ดูข้อมูล

4. โครงการกำหนดแนวทางเพื่อรับมือผลกระทบจากภาวะอุณหภูมิสูงขึ้นหรือปรากฏการณ์เกาะความร้อน ในเมืองขนาดใหญ่

ดูข้อมูล

3. โครงการประสานและจัดทำแผนในการสำรองระบบที่มีความจำเป็นในการดำรงชีวิตในระดับพื้นที่ เพื่อรองรับกรณีเกิดภัยพิบัติที่สืบเนื่องจากสภาพภูมิอากาศหรือภาวะวิกฤติ

ดูข้อมูล

2. โครงการพัฒนาพื้นที่สีเขียวอเนกประโยชน์ที่เพิ่มมากขึ้นและเชื่อมต่อกันทั้งภายในเมืองและบริเวณใกล้เคียง

ดูข้อมูล

1. โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็นและมีความคงทนและสามารถให้บริการได้อย่างต่อเนื่องในสภาวะฉุกเฉิน และประชาชนสามารถเข้าถึงโครงสร้างพื้นฐานหลักได้สะดวกทั้งในสถานการณ์ปกติ และหลังการเกิดภัย

ดูข้อมูล

6. โครงการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับทุกภาคส่วนเกี่ยวกับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและเพิ่มขีดความสามารถในการปรับตัวเพื่อรับมือกับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

5. โครงการส่งเสริมความร่วมมือจากภาคเอกชนและภาคประชาชนในการสงวนรักษาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ ผ่านแนวทางการดำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม

ดูข้อมูล

4. โครงการส่งเสริมและพัฒนาชุมชนที่มีวิถีชีวิตเชิงนิเวศ ให้สามารถอยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างกลมกลืนและเพิ่มบทบาทของชุมชนในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติในรูปแบบของป่าชุมชนตามกฎหมายว่าด้วยป่าชุมชนเพื่อส่งเสริมศักยภาพการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ในพื้นที่ป่าชุมชนอย่างสมดุลและยั่งยืน

ดูข้อมูล

3. โครงการส่งเสริมการศึกษาวิจัยผลกระทบจากปัจจัยภูมิอากาศที่มีต่อระบบนิเวศต่าง ๆ รวมทั้งชนิดพันธุ์พืชและสัตว์

ดูข้อมูล

2. โครงการศึกษาและประกาศพื้นที่คุ้มครองเพิ่มเติมเพื่อรองรับการอพยพย้ายถิ่นของชนิดพันธุ์สัตว์ที่มีความเประบางต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

1. โครงการสร้างเครือข่ายการเฝ้าระวังและติดตามตัวชี้วัดความสมบูรณ์และการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศและทรัพยากรธรรมชาติ(Biological indicator)

ดูข้อมูล

แนวทางที่ 3 กลไกสนับสนุนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ

ดูข้อมูล

4. โครงการการผลักดันพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญของประเทศไทย

ดูข้อมูล

3. โครงการส่งเสริมเครือข่ายความร่วมมือในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และใช้ประโยชน์พื้นที่ชุ่มน้ำอย่างชาญฉลาด (Wise use)

ดูข้อมูล

2. โครงการพัฒนาและฟื้นฟูพื้นที่ชุ่มน้ำเพื่อเป็นพื้นที่รองรับน้ำ ช่วยชะลอและป้องกันน้ำท่วม

ดูข้อมูล

1. โครงการผลักดันการประกาศเขตคุ้มครองในพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความเปราะบางเชิงนิเวศ และเสี่ยงต่อการถูกคุกคามความหลากหลายทางชีวภาพที่อยู่นอกเขตอนุรักษ์

ดูข้อมูล

5. โครงการพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดไฟป่าโดยสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน โดยการเพิ่มศักยภาพเครือข่ายประชาชนในการป้องกันและควบคุมไฟป่า

ดูข้อมูล

4. โครงการสนับสนุนการอนุรักษ์ชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่น และชนิดพันธุ์ที่ใกล้สูญพันธุ์ในระบบนิเวศบนบก โดยเฉพาะอย่างยิ่งสัตว์กินเนื้อ ซึ่งได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งป้องกันชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่อาจแพร่ระบาดเพิ่มมากขึ้นจากสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป

ดูข้อมูล

3. โครงการกำหนดกฎเกณฑ์การอยู่ร่วมกันระหว่างคนกับป่าโดยใช้แนวทางการปรับตัวโดยอาศัยระบบนิเวศ (Ecosystem-based Adaptation: EbA) เพื่อลดการบุกรุกทำลายป่า เพื่อทำเกษตรเชิงเดี่ยวและส่งเสริมให้มีการปลูกพืชที่เกื้อกูลกับระบบนิเวศป่าไม้

ดูข้อมูล

2. โครงการสนับสนุนการปลูกป่าและเพิ่มพื้นที่ป่า ในพื้นที่ป่าที่ถูกบุกรุกหรือทำลาย ป่าต้นน้ำที่เสื่อมโทรม หรือพื้นที่ว่างนอกเขตป่าธรรมชาติ รวมทั้งพื้นที่ป่าของเอกชน

ดูข้อมูล

1. โครงการสงวนและคุ้มครองพื้นที่ป่าสงวนที่ยังคงมีสภาพป่าสมบูรณ์ สวนป่าและพื้นที่ที่ผ่านการฟื้นฟู ควบคู่ไปกับการ บำรุงรักษาป่าและการป้องกันปราบปรามการบุกรุกทำลายพื้นที่ป่าอย่างต่อเนื่อง

ดูข้อมูล

8. โครงการพัฒนาโครงสร้างของสถานบริการสาธารณสุขให้พร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยเฉพาะในพื้นที่เสี่ยงภัย การทำแนวป้องกันน้ำท่วม การสำรองน้ำเพื่ออุปโภคบริโภค การสำรองอาหาร เวชภัณฑ์ แหล่งพลังงาน และสาธารณูปโภคที่จำเป็น

ดูข้อมูล

7. โครงการพัฒนากลไกความร่วมมือทุกภาคส่วน ทั้งในและนอกระบบสาธารณสุข ในการบริหารจัดการเพื่อป้องกันและลดผลกระทบต่อสุขภาพจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลและเตรียมการรับมือภัยสุขภาพได้ทันท่วงที

ดูข้อมูล

6. โครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขในทุกระดับ เพื่อรับมือผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในเชิงรุก การให้บริการข้อมูลคำแนะนำ การสร้างความตระหนักแก่ประชาชนในการปรับตัวในรูปแบบต่าง ๆ และทำหน้าที่ประสานงานการปฏิบัติงานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และราชการส่วนภูมิภาค ในการเฝ้าระวัง และป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งการสนับสนุนการทำงานในเชิงรุกของหน่วยงานระดับพื้นที่ เครือข่ายและอาสาสมัครทางสาธารณสุข เช่น อสม. ทสม. มิสเตอร์เตือนภัย ให้มีบทบาทในการเป็นเครือข่ายและส่วนสำคัญในระบบเฝ้าระวังภัยสุขภาพในชุมชน และการปรับตัวต่อภัยสุขภาพจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

5. โครงการพัฒนามาตรฐานการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินเมื่อเกิดปัญหาด้านสาธารณสุขจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เช่น แผนฉุกเฉินด้านการป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพรวมทั้งแผนการส่งต่อและเคลื่อนย้ายร่วมกับชุมชนในกรณีที่เกิดภัยพิบัติที่สืบเนื่องจากสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

4. โครงการพัฒนาต้นแบบโรงพยาบาลและชุมชนในการลดและจัดการความเสี่ยงต่อสุขภาพที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศในระดับพื้นที่ กระบวนการมีส่วนร่วมกับภาคประชาชน ชุมชน ท้องถิ่นและภาคีทุกภาคส่วนในระดับพื้นที่ และขยายผลรูปแบบในการจัดการความเสี่ยงต่อสุขภาพไปยังโรงพยาบาลอื่น ๆ ทั่วจังหวัด

ดูข้อมูล

3. โครงการพัฒนางานวิจัย องค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ในการลดและจัดการความเสี่ยงต่อสุขภาพ หรือกลุ่มโรคอุบัติใหม่ ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์และเทคโนโลยีในการให้บริการผู้ป่วยในกลุ่มโรคสำคัญจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

2. โครงการปรับปรุงระบบประกันสุขภาพให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพ ครอบคลุมประชากรกลุ่มเสี่ยงที่มีความอ่อนไหวต่อปัจจัยทางภูมิอากาศ เด็ก ผู้สูงอายุ เกษตรกร แรงงานที่ต้องปฏิบัติงานกลางแจ้ง และกลุ่มผู้ด้อยโอกาส รวมถึงปรับปรุงบริการทางสาธารณสุขภายใต้ระบบประกันสุขภาพ

ดูข้อมูล

1. โครงการพัฒนาระบบเฝ้าระวังและคาดการณ์ความเสี่ยงผลกระทบต่อสุขภาพจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การบูรณาการกับภาคเครือข่ายทุกระดับ โดยการจัดทำแผนที่เสี่ยงด้านสุขภาพและพัฒนากลไกการเตือนภัยด้านสุขภาพจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

3. โครงการพัฒนาศักยภาพประชาชนให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักในเรื่องผลกระทบต่อสุขภาพจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการแก้ไขปัญหาและปรับตัวภายใต้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้อย่างเหมาะสม

ดูข้อมูล

2. โครงการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขของประเทศเพื่อรองรับการจัดการผลกระทบด้านสุขภาพจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พัฒนามาตรฐานการรักษา ระบบบริการสาธารณสุข ที่ครอบคลุมทั้งการรักษาและการป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เพื่อให้หน่วยงานบริการสาธารณสุขทุกระดับนำไปใช้ดูแลสุขภาพประชาชนได้

ดูข้อมูล

1. โครงการการเพิ่มขีดความสามารถในการป้องกันและดูแลสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงด้านสุขภาพ ผู้สูงอายุ เด็ก สตรีมีครรภ์ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง กลุ่มวัยทำงาน (เกษตรกรและผู้ที่ต้องปฏิบัติงานกลางแจ้ง) และกลุ่มผู้ด้อยโอกาสต่อความเสี่ยงทางสุขภาพจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

8. โครงการสร้างความตระหนักและให้ความรู้แก่นักท่องเที่ยว ถึงความเสี่ยงและความเปราะบางต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของแหล่งท่องเที่ยวที่มีคุณค่าเชิงศิลปกรรมและทางธรรมชาติ เพื่อให้นักท่องเที่ยวมีการทำกิจกรรมการท่องเที่ยวแบบป้องกันและอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยวที่มีคุณค่าเชิงศิลปกรรมและทางธรรมชาติ

ดูข้อมูล

7. โครงการพัฒนากลไกการแจ้งเตือนภัยด้านการท่องเที่ยวที่มีการทำงานที่เชื่อมโยงกับระบบเตือนภัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างบูรณาการและทำงานได้อย่างสมบูรณ์ รวมทั้งสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังในการรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ประกอบด้วย ภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้ประกอบการท่องเที่ยว เพื่อร่วมวางแผน แบ่งปันข้อมูลองค์ความรู้ เผ้าระวัง และกำหนดมาตรการในการลดความเสี่ยงและผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งเตรียมการรับมือกับปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในอนาคต

ดูข้อมูล

6. โครงการส่งเสริมให้ผู้ประกอบการท่องเที่ยวจัดทำแผนบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Plan: BCP) (นำปัจจัยด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมาประกอบการประเมินความเสี่ยงขององค์กร ทั้งความเสี่ยงจากภัยพิบัติที่สืบเนื่องจากสภาพภูมิอากาศ การแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ หรือการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิ)

ดูข้อมูล

5. โครงการเพิ่มขีดความสามารถของผู้ประกอบการท่องเที่ยว ชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดการรูปแบบสินค้า กิจกรรมหรือบริการด้านการท่องเที่ยวที่หลากหลายเพื่อรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (อบรมให้ความรู้ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยว รวมทั้งการวางแผนและพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยว เช่น กิจกรรมในร่มหรือกิจกรรมที่สอดคล้องกับสภาพภูมิอากาศ เพื่อนำเสนอให้กับนักท่องเที่ยวได้อย่างเหมาะสม)

ดูข้อมูล

4. โครงการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวในรูปแบบที่หลากหลายเพื่อสนับสนุนการเพิ่มภูมิคุ้มกันและลดความเสี่ยงต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในพื้นที่ท่องเที่ยวที่่มีศักยภาพ(การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมวิถีชีวิต การท่องเที่ยวตามรอยวัฒนธรรมการกินอาหารตามท้องถิ่น เพื่อเป็นทางเลือกในการท่องเที่ยวที่กระจายความเสี่ยงต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งลดการพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติและลักษณะภูมิอากาศเฉพาะของพื้นที่ โดยยึดหลักการท่องเที่ยวที่ยั่งยืนและการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ที่สร้างมูลค่าเพิ่มสูง)

ดูข้อมูล

3. โครงการบูรณาการแผนการปรับตัวต่อความเสี่ยงจากสภาพภูมิอากาศด้านการท่องเที่ยวเข้ากับแผนของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน องค์กปกครองส่วนท้องถิ่นและผู้ประกอบการอุตสาหกรรมท่องเที่ยว

ดูข้อมูล

2. โครงการพัฒนาหรือปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานภายในแหล่งท่องเที่ยว เพื่อบรรเทาและลดผลกระทบจากสภาวะอากาศร้อนจัด ให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ เช่น จุดพัก (Resting point) และแหล่งน้ำ เป็นต้น

ดูข้อมูล

1. โครงการจัดทำข้อมูลการประเมินความเสี่ยงและผลกระทบของแหล่งท่องเที่ยวจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งแผนที่เสี่ยง เพื่อระบุแหล่งท่องเที่ยวที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในแหล่งท่องเที่ยว และสร้างความรู้ความเข้าใจต่อการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงที่คำนึงถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศให้กับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

ดูข้อมูล

2. โครงการเพิ่มมาตรการป้องกันความเสียหายในเชิงโครงสร้างให้กับสิ่งปลูกสร้างและสถาปัตยกรรมที่มีคุณค่าเชิงศิลปกรรมที่เสี่ยงต่อความเสียหายจากภัยพิบัติที่สืบเนื่องจากสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

1. โครงการเพิ่มมาตรการป้องกันการผุกร่อนของสิ่งปลูกสร้างและสถาปัตยกรรมที่มีคุณค่าเชิงศิลปกรรมจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ ความชื้น และ ระดับคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ

ดูข้อมูล

2. โครงการกำหนดรูปแบบการท่องเที่ยวในพื้นที่เสี่ยง และช่วงเวลาการให้บริการที่เหมาะสม หรือจำกัดปริมาณนักท่องเที่ยวในบางฤดูกาล โดยคำนึงถึงศักยภาพในการรองรับของพื้นที่ (Carrying capacity) เช่น ข้อจำกัดด้านปริมาณน้ำสะอาด การอนุรักษ์และฟื้นคืนของทรัพยากรธรรมชาติ และความปลอดภัยของนักท่องเที่ยว

ดูข้อมูล

1. โครงการปรับปรุงปฏิทินการท่องเที่ยวให้สอดคล้องกับฤดูกาลที่เปลี่ยนแปลงไป

ดูข้อมูล

14. โครงการพัฒนางานวิจัยเพื่อประเมินปัจจัยของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อการเพาะปลูก การผลิตปศุสัตว์ และทรัพยากรประมงรวมถึงการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

ดูข้อมูล

13. โครงการสร้างความตระหนักรู้ต่อเกษตรกรถึงผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคเกษตร และพัฒนาศักยภาพในการรับมือและจัดการความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ

ดูข้อมูล

12. โครงการสนับสนุนการสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการเกษตรในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

11. โครงการสนับสนุนการวิจัยพัฒนาและส่งเสริมเทคโนโลยีเพื่อลดการสูญเสีย (Food loss food waste) ของผลผลิตการเกษตร

ดูข้อมูล

10. โครงการพัฒนาระบบการสำรองอาหาร พร้อมทั้งกลไกการกระจายอาหารที่มีประสิทธิภาพ

ดูข้อมูล

9. โครงการส่งเสริมการปรับปรุงพันธุ์พืช/พันธุ์สัตว์ และสนับสนุนการเข้าถึงของเกษตรกรให้สามารถใช้พันธุ์พืช/พันธุ์สัตว์ที่เหมาะสมต่อการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยทางภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

8. โครงการจัดตั้งธนาคารพันธุ์พืช พันธุ์ปศุสัตว์ พันธุ์สัตว์น้ำ เพื่อเป็นแหล่งกู้ยืมปัจจัยการผลิต และเป็นแหล่งสำรองในภาวะภัยพิบัติทางธรรมชาติ

ดูข้อมูล

7. โครงการส่งเสริมการฟื้นฟูวิถีชีวิตวัฒนธรรมการเก็บสำรองอาหารของครัวเรือในแต่ละท้องถิ่น

ดูข้อมูล

6. โครงการส่งเสริมการผลิตตามแนวเกษตรทฤษฎีใหม่ เกษตรกรรมยั่งยืน เกษตรผสมผสาน

ดูข้อมูล

5. โครงการส่งเสริมการกำหนดพื้นที่ (Zoning) โดยใช้แผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-map) และการผลิตแบบแปลงใหญ่ เพื่อการผลิตแบบครบวงจร

ดูข้อมูล

4. โครงการพัฒนาการทำเกษตรแม่นยำสูง ให้มีต้นทุนที่ลดลง เกษตรกรสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้อย่างกว้างขวาง

ดูข้อมูล

3. โครงการจัดทำแผนที่พื้นที่เกษตรเสี่ยงภัยและคาดการณ์ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในระดับพื้นที่ และเผยแพร่ให้เกษตรกรสามารถเข้าถึงข้อมูลและใช้ประโยชน์ได้

ดูข้อมูล

2. โครงการพัฒนากลไกการเตือนภัยและรายงานสถานการณ์เตือนภัยทางการเกษตร

ดูข้อมูล

1. โครงการพัฒนาดัชนีความสามารถในการพึ่งตนเองของภาคเกษตรเมื่อเกิดภัยพิบัติที่สีบเนื่องจากสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

2. โครงการฟื้นฟูทรัพยากรประมงและแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำ

ดูข้อมูล

1. โครงการพัฒนาการจัดการประมงให้สอดคล้องกับแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

2. โครงการพัฒนาระบบควบคุม ป้องกัน และบำบัดโรคสัตว์ ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

1. โครงการพัฒนาการจัดการระบบปศุสัตว์และการผลิตสินค้าจากปศุสัตว์ให้สอดคล้องกับแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

3. โครงการส่งเสริมการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และบำรุงรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดินในพื้นที่เกษตรกรรมที่มีความเสื่อมโทรมของดิน

ดูข้อมูล

2. โครงการพัฒนาแหล่งน้ำในพื้นที่เกษตรกรรมนอกเขตชลประทานให้มีประสิทธิภาพและเพียงพอต่อความต้องการใช้การเพาะปลูก

ดูข้อมูล

1. โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิตพืชให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

6. โครงการผลักดันการดำเนินงานภายใต้กลไกความร่วมมือในการบริหารจัดการน้ำในลุ่มน้ำที่มีความสำคัญในระดับนานาชาติอย่างต่อเนื่อง

ดูข้อมูล

5. โครงการส่งเสริมการศึกษาและวิจัยร่วมกับการผสานภูมิปัญญาท้องถิ่นในการพัฒนาและจัดการทรัพยากรน้ำ ที่เหมาะสมกับการบริหารจัดการน้ำตามบริบทแต่ละพื้นที่

ดูข้อมูล

4. โครงการสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังภัยพิบัติที่สืบเนื่องจากสภาพภูมิอากาศในพื้นที่เสี่ยง โดยเสริมสร้างศักยภาพชุมชนในการเตรียมความพร้อมตั้งแต่ระดับครัวเรือน

ดูข้อมูล

3. โครงการจัดทำแผนบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ แผนแม่บทระดับลุ่มน้ำ และแผนปฏิบัติการ

ดูข้อมูล

2. โครงการบูรณาการการจัดทำแผนที่เสี่ยงภัยในลักษณะของ One map ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและคาดการณ์ผลกระทบด้านการจัดการน้ำจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในระดับพื้นที่

ดูข้อมูล

1. โครงการพัฒนาระบบการพยากรณ์และกลไกการรายงานสถานการณ์น้ำ

ดูข้อมูล

3. โครงการส่งเสริมการพัฒนาและใช้เทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสีย เพื่อนำน้ำหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ (ภาคครัวเรือนและภาคอุตสาหกรรม)

ดูข้อมูล

2. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพในการบำบัดและควบคุมการระบายน้ำเสียออกสู่สิ่งแวดล้อม

ดูข้อมูล

1. โครงการอนุรักษณ์และฟื้นฟูแม่น้ำลำคลองและแหล่งน้ำธรรมชาติโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน

ดูข้อมูล

4. โครงการพัฒนาระบบผันน้ำและระบบเชื่อมโยงแหล่งน้ำ

ดูข้อมูล

3. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน้ำใต้ดินร่วมกับการใช้น้ำผิวดินในพื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง

ดูข้อมูล

2. โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสำหรับสำรองน้ำฝน และจัดสรรน้ำในพื้นที่ประสบภัยแล้งซ้ำซาก พื้นที่นอกเขตชลประทาน และพื้นที่ที่ยังใช้น้ำบาดาล (พัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็กและแหล่งบาดาล รวมทั้งขยายพื้นที่ชลประทานให้ครอบคลุม)

ดูข้อมูล

1. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน้ำต้นทุนและแหล่งกักเก็บน้ำ โดยกำหนดสัดส่วนการใช้น้ำในกิจกรรมต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับปริมาณน้ำท่าและน้ำที่กักเก็บ

ดูข้อมูล

2. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำ (ขุดลอก/ปรับปรุงทางระบายน้ำ)

ดูข้อมูล

1. โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในการเตรียมรับมืออุทกภัยที่มีความสอดคล้องและเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ ระบบนิเวศ และชุมชน (สร้างอ่างเก็บน้ำ แหล่งชะลอน้ำ แก้มลิง และคันกั้นดินริมตลิ่ง)

ดูข้อมูล

3. โครงการส่งเสริมการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ เพื่อใช้เป็นกลไกและแรงจูงใจให้แก่ชุมชนในพื้นที่ต้นน้ำในการดูแลและรักษาระบบนิเวศ (ปลูกป่าสร้างรายได้ในพื้นที่ป่า อนุรักษ์)

ดูข้อมูล

2. โครงการส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชนในพื้นที่ต้นน้ำในการกำหนดนโยบายและวางแผนการใช้ประโยชน์ที่ดิน

ดูข้อมูล

1. โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูสภาพป่าต้นน้ำที่เสื่อมโทรมและป้องกันการพังทลายของดิน

ดูข้อมูล
 
 

ข้อมูลสภาพการณ์ความเสี่ยง (Risk Profile) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของจังหวัด
 
ข้อมูลฐานพื้นที่

ข้อมูลฐานพื้นที่

[1] ข้อมูลพื้นฐานพื้นที่_เชียงราย.xlsx

แบบประเมินรายการความเสี่ยง

แบบประเมินรายการความเสี่ยง

[2] แบบประเมินรายการความเสี่ยง_เชียงราย.xlsx

Risk Profile Checklist

Risk Profile Checklist

[3] Risk Profile Checklist_เชียงราย.xlsx