หน้าหลัก
E-Platform
Guest   
ชลบุรี
ปีฐาน : 2562

 

ข้อมูลสภาพการณ์ความเสี่ยง (Risk Profile) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของจังหวัด
 

การวิเคราะห์ห่วงโซ่ผลกระทบ (Impact Chain Analysis)


ตารางความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขา

ตารางแสดงความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขาทั้งหมด

   
 
 
โครงการ / เรื่อง

ด้านที่ 1

ด้านที่ 2

ด้านที่ 3

ด้านที่ 4

ด้านที่ 5

ด้านที่ 6
จัดการ

5. มาตรการส่งเสริมกิจกรรมที่สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

4. มาตรการสนับสนุนการใช้พลังงานทางเลือกชุมชนในกิจกรรมครัวเรือน และการขนส่ง ได้แก่ Solar Energy รถยนต์ EV และพลังงานหมุนเวียนพลังงานสะอาด พลังงานชีวมวล

ดูข้อมูล

3. มาตรการสนับสนุนโครงสร้างอาคารเขียว และสนับสนุนการใช้คอนกรีตที่ดูดซับน้ำ เพื่อปรับตัวรองรับภัยน้ำท่วม

ดูข้อมูล

2. มาตรการพัฒนากลไกการเตือนภัยพิบัติรายงานสถานการณ์ภัย พิบัติ และจัดทำการประเมินผลกระทบในด้านสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นที่ครอบคลุมสำหรับเมืองในทุกระดับ

ดูข้อมูล

1. มาตรการพัฒนาเกณฑ์และจัดทำดัชนีการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์อย่างยั่งยืน

ดูข้อมูล

6. มาตรการเพิ่มจำนวนสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ และเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน้ำ

ดูข้อมูล

5. มาตรการเพิ่มจำนวนกิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรสิ่งแวดล้อมสร้างเครือข่ายเชื่อมโยงข่าวสารข้อมูลให้ทันต่อเหตุการณ์

ดูข้อมูล

4. มาตรการเพิ่มศักยภาพของแผนป้องกันสาธารณะภัยในระดับท้องถิ่น โดยบูรณาการแผนการปรับตัวต่อความเสี่ยงจากสภาพภูมิอากาศกับแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในระดับจังหวัด และแผนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ดูข้อมูล

3. มาตรการส่งเสริมการซื้อขายคาร์บอนเครดิต (Carbon Credit) ใน ลักษณะการรวมกลุ่มของชุมชน เช่น การรวมกลุ่ม low carbon รวมทั้งมีการให้ความรู้เกี่ยวกับการซื้อขายคาร์บอนเครดิตและการทำเกษตรแบบ low carbon

ดูข้อมูล

2. มาตรการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขนาดใหญ่ ได้แก่ เมืองพัทยา เพื่อเป็นต้นแบบของเมืองอัจฉริยะ ในจังหวัดชลบุรี

ดูข้อมูล

1. มาตรการส่งเสริมการจัดการขยะและการจัดการน้ำเสียชุมชน โดยสนับสนุนการนำขยะมูลฝอยชุมชนกลับมาใช้ประโยชน์สนับสนุนขยะติดเชื้อได้รับการจัดการอย่างถูกต้อง และเพิ่มจำนวนศูนย์กำจัดขยะมูลฝอยแบบครบวงจร

ดูข้อมูล

5. มาตรการจัดทำข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ในเรื่องการตั้งถิ่นฐานและความมั่นคงของมนุษย์ให้เป็นปัจจุบันและมีการเชื่อมโยงข้อมูลภายในจังหวัด เช่น พื้นที่สีเขียวชุมชนปริมาณขยะ และการจัดการขยะ*

ดูข้อมูล

4. มาตรการส่งเสริมเมืองน่าอยู่ตาม SDGs โดยเน้นการฟื้นฟู และการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในชุมชน

ดูข้อมูล

3. มาตรการการเพิ่มการขนส่งระบบรางและขนส่งมวลชน ในพื้นที่เมืองพัทยา เมืองชลบุรีเทศบาลเมืองแสนสุข ศรีราชา สัตหีบ และมีการเชื่อมโยงระบบการขนส่งระหว่างเมือง เช่น เชื่อมเส้นทางสุขุมวิท และเส้น 331

ดูข้อมูล

2. มาตรการยกระดับประสิทธิภาพการจัดการภาครัฐ โดยเพิ่มจำนวนพื้นที่ได้รับการพัฒนาตามผังเมืองชลบุรีเดิมที่มีอยู่แล้ว

ดูข้อมูล

1. มาตรการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานจำเป็นและมีความคงทนและสามารถให้บริการได้อย่างต่อเนื่องในสถานการณ์ปกติในสภาวะฉุกเฉินและหลังการเกิดภัยทั้งในด้านอุตสาหกรรมเกษตรกรรมและชุมชน

ดูข้อมูล

4. สร้างความตระหนักรู้แก่นักท่องเที่ยวถึงความเสี่ยง และความเปราะบางต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของแหล่งท่องเที่ยวที่มีคุณค่าเชิงศิลปกรรมและทางธรรมชาติ โดยมุ่งเน้นไปที่พัฒนากลไกเชิงมีเดียสื่อประชาสัมพันธ์ การตลาด รวมทั้งกระบวนการที่เป็นกิจกรรม

ดูข้อมูล

3. พัฒนากลไกการแจ้งเตือนภัยด้านการท่องเที่ยวที่มีการทำงานที่เชื่อมโยงกับระบบเตือนภัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างบูรณาการและทำงานได้อย่างสมบูรณ์ โดยมุ่งเน้นพัฒนากลไกเชิงมิเดียสื่อประชาสัมพันธ์ การตลาด รวมทั้งกระบวนการที่เป็นกิจกรรม

ดูข้อมูล

2. ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการท่องเที่ยวจัดทำแผนบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Plan: BCP) โดยมุ่งเน้นไปที่การขับเคลื่อน และให้มีการบูรณาการร่วมกัน ระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน และมีการส่งเสริม/รณรงค์ ธุรกิจ Mice

ดูข้อมูล

1. เพิ่มขีดความสามารถของผู้ประกอบการท่องเที่ยวชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดการรูปแบบสินค้า กิจกรรมหรือบริการด้านการท่องเที่ยวที่หลากหลายเพื่อรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยมุ่งเน้นไปที่การขับเคลื่อนและให้มีการบูรณาการร่วมกัน ระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน และมีการส่งเสริม/รณรงค์ ธุรกิจ Mice

ดูข้อมูล

2. มาตรการจัดการระบบการท่องเที่ยวเชิงศิลปกรรม และวัฒนธรรมประเพณี

ดูข้อมูล

1. มาตรการพัฒนา หรือปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานและระบบป้องกันสิ่งปลูกสร้างและสถาปัตยกรรมที่มีคุณค่าที่เสี่ยงต่อความเสียหายจากภัยพิบัติที่สืบเนื่องจากสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

5. มาตรการเพิ่มศักยภาพของแผนป้องกันสาธารณะภัยของแหล่งท่องเที่ยว โดยบูรณาการแผนการปรับตัวต่อความเสี่ยงจากสภาพภูมิอากาศด้านการท่องเที่ยวเข้ากับแผนของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและผู้ประกอบการอุตสาหกรรมท่องเที่ยว

ดูข้อมูล

4. มาตรการจัดการการท่องเที่ยวทางทะเลที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ “ระบบนิเวศทางทะเลและป่าชายเลน”

ดูข้อมูล

3. มาตรการส่งเสริมการจัดการน้ำเพื่อการท่องเที่ยวที่ยั่งยืนเนื่องจากไม่สามารถท่องเที่ยวได้บางฤดูในบางแห่งได้

ดูข้อมูล

2. มาตรการกำหนดรูปแบบการท่องเที่ยวในพื้นที่เสี่ยง และส่งเสริมการท่องเที่ยวในรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อสนับสนุนการเพิ่มภูมิคุ้มกันและลดความเสี่ยงต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในพื้นที่ท่องเที่ยวที่มีศักยภาพ

ดูข้อมูล

1. มาตรการจัดทำข้อมูลการประเมินความเสี่ยงและผลกระทบของแหล่งท่องเที่ยวจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งแผนที่เสี่ยง เพื่อระบุแหล่งท่องเที่ยวที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในแหล่งท่องเที่ยว และสร้างความรู้ ความเข้าใจต่อการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงที่คำนึงถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศให้กับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง*

ดูข้อมูล

8. มาตรการผลักดันการดำเนินงานภายใต้กลไก สิ่งแวดล้อมจังหวัดชลบุรีความร่วมมือในการจัดการน้ำภายในพื้นที่ EEC และภายในประเทศอย่างยั่งยืนให้เกิดประสิทธิผล

ดูข้อมูล

7. มาตรการส่งเสริมการศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบความต้องการใช้น้ำในพื้นที่ต่าง ๆ รวมถึงประเมินศักยภาพของการจัดการด้านอุปสงค์การใช้น้ำและการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำ เพื่อเป็นทางเลือกในการปรับตัว

ดูข้อมูล

6. มาตรการสร้างเครือข่ายการเตือนภัยล่วงหน้าและความช่วยเหลือในภาวะวิกฤติ/พื้นที่ โดยกำหนดบทบาทความรับผิดชอบของภาคส่วนต่าง ๆ อย่างชัดเจน และให้มีการจัดทำแผนปฏิบัติการให้ช่วยเหลือร่วมกัน

ดูข้อมูล

5. มาตรการพัฒนาระบบฐานข้อมูล องค์ความรู้เทคโนโลยีและนโยบาย เพื่อเป็นเครื่องมือการบริหารจัดการและกฎหมายที่ครอบคลุมและเหมาะสมทั้งในสภาวะปกติและสภาวะวิกฤตจัดทำแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการจัดการทรัพยากรน้ำการผลักดันในการดำเนินการพัฒนาระบบฐานข้อมูลองค์ความรู้เทคโนโลยีนโยบาย

ดูข้อมูล

4. มาตรการจัดทำแผนที่แสดงพื้นที่เสี่ยงต่ออุทกภัยและภัยแล้งให้ครอบคลุมระดับจังหวัด หรือท้องถิ่น เพื่อให้สามารถวางแผนจัดการความเสี่ยงและเตรียมการรับมือได้อย่างมีประสิทธิผล

ดูข้อมูล

3. มาตรการพัฒนาระบบการพยากรณ์สภาพอากาศและเตือนภัยล่วงหน้าให้มีความถูกต้องแม่นยำ และสามารถพยากรณ์สภาพอากาศล่วงหน้าได้นานขึ้น รวมถึงกำหนดแนวทางปฏิบัติที่เป็นมาตรฐานในการเตือนภัยล่วงหน้าพร้อมจัดทำข้อปฏิบัติที่เหมาะสมสำหรับประชาชนโดยอาจจำแนกตามระดับความรุนแรงของสถานการณ์

ดูข้อมูล

2. มาตรการเพิ่มขีดความสามารถในการจัดทำแนวทางกาปรับตัวโดยใช้อาศัยความหลากหลายทางทรัพยากรจากระบบนิเวศ

ดูข้อมูล

1. มาตรการพัฒนาเครื่องมือในการประเมินความสามารถในการรับมือกับภัยพิบัติด้านน้ำ และความมั่นคงของน้ำด้านต่าง ๆ

ดูข้อมูล

4. มาตรการเพิ่มการบูรณาการบริหารการจัดการทรัพยากรน้ำทุกภาคส่วน จากการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำทะเล สถานการณ์ภัยแล้ง และการเปลี่ยนแปลงของน้ำท่าจากการกระทำของมนุษย์ เพื่อช่วยลดผลกระทบในการใช้น้ำด้านการเกษตรรวมทั้งการผลิตน้ำประปาเพื่ออุปโภคบริโภค

ดูข้อมูล

3. มาตรการส่งเสริมการอนุรักษ์และเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำทั้งในภาคอุตสาหกรรม/บริการ/เกษตร/ครัวเรือนเพื่อช่วยลดผลกระทบเรื่องความต้องการใช้น้ำในสภาวะขาดแคลนน้ำโดยเฉพาะในพื้นที่ภัยแล้ง

ดูข้อมูล

2. มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพในการบำบัดและควบคุมการระบายน้ำเสียออกสู่สิ่งแวดล้อม โดยผลักดันให้ท้องถิ่นมีการบำบัดน้ำเสียและมีการเฝ้าระวังติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำ

ดูข้อมูล

1. มาตรการมุ่งเน้นการบูรณาในด้านการอนุรักษ์และฟื้นฟูแม่น้ำลำคลองและแหล่งน้ำธรรมชาติภายในจังหวัด โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน

ดูข้อมูล

5. มาตรการพัฒนาระบบผันน้ำและระบบเชื่อมโยงแหล่งน้ำ โดยพัฒนาโครงข่าย น้ำภายในจังหวัด เพื่อลดความขัดแย้งการใช้น้ำภาคการเกษตรและอุตสาหกรรม และการผันน้ำระหว่างพื้นที่ในจังหวัดชลบุรี

ดูข้อมูล

4. มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน้ำใต้ดินร่วมกับการใช้น้ำผิวดินในพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งตามศักยภาพของลุ่มน้ำภายในจังหวัด โดยพิจารณาถึงการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศที่มีผลต่อปริมาณ น้ำฝนและปริมาณ น้ำท่า ควบคู่กับการกำหนดสัดส่วนการใช้น้ำในกิจกรรมต่าง ๆรวมทั้งพิจารณาถึงการรักษาสมดุลทางนิเวศวิทยาด้านท้ายน้ำ

ดูข้อมูล

3. มาตรการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสำหรับสำรองน้ำฝน และจัดสรรน้ำในพื้นที่ประสบภัยแล้งซ้ำซาก พื้นที่นอกเขตชลประทาน และพื้นที่ที่ยังใช้น้ำบาดาล โดยการพัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็ก และแหล่งน้ำบาดาลเพื่อการเกษตรนอกเขตชลประทานรวมทั้งขยายพื้นที่ชลประทานให้ครอบคลุมพื้นที่ที่มีศักยภาพทางการเกษตร รวมถึงส่งเสริมระบบน้ำสำรองในฤดูแล้ง

ดูข้อมูล

ปริมาณน้ำท่าและน้ำที่กักเก็บในแต่ละลุ่มน้ำหลักของจังหวัดชลบุรี ภายใต้เงื่อนไขการคาดการณ์ปริมาณน้ำต้นทุน จากผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งพัฒนาระบบโครงข่าย

ดูข้อมูล

2. มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน้ำต้นทุนและแหล่งกักเก็บน้ำ โดยกำหนดสัดส่วนการใช้น้ำในกิจกรรมต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับ

ดูข้อมูล

1. มาตรการพัฒนาการจัดทำ Water footprint และระบบฐานข้อมูล เกี่ยวกับปริมาณน้ำต้นทุนและความต้องการใช้น้ำของผู้ใช้น้ำในภาคส่วนต่าง ๆ ในลุ่มน้ำหลักของจังหวัดชลบุรี เพื่อใช้ในการวางแผนจัดการน้ำอย่างสมดุล (Water balance) มีประสิทธิภาพและเป็นธรรม โดยผนวกข้อมูลด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในการจัดการน้ำ

ดูข้อมูล

4. มาตรการผลักดันการจัดการน้ำเสียที่เป็นแหล่งกำเกิดมลพิษ เพื่อเตรียมความพร้อมและป้องกันการแพร่กระจายของมลพิษ

ดูข้อมูล

3. มาตการพัฒนาและส่งเสริมระบบป้องกันน้ำท่วมของจังหวัดในพื้นที่เสี่ยงภัย

ดูข้อมูล

2. มาตรการปรับปรุงการจัดการน้ำในอ่างเก็บน้ำและพัฒนาแหล่งน้ำ เช่น ท่อระบายน้ำ ร่องน้ำ ให้ความเหมาะสมกับพื้นที่

ดูข้อมูล

1. มาตรการจัดทำคู่มือในการเตรียมความพร้อมรับมือกับอุทกภัยที่มีความสอดคล้องและเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ระบบนิเวศ และชุมชน โดยผ่านกระบวนการมีส่วนร่วม ในการกำหนดนโยบายและวางแผนการจัดการน้ำให้ครอบคลุมผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

ดูข้อมูล

3. มาตรการผลักดันให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมการใช้เครื่องมือให้เกิดประสิทธิผล

ดูข้อมูล

2. มาตรการส่งเสริมทางด้านการเกษตรลดการใช้สารเคมี เน้นเปลี่ยนรูปแบบเป็นเกษตรอินทรีย์ PGS แบบการมีส่วนร่วม

ดูข้อมูล

1. มาตรการเร่งส่งเสริมการอนุรักษ์และฟื้นฟูสภาพแหล่งต้นน้ำให้มีความสมบูรณ์ เพื่อช่วยชะลอการไหลและเพิ่มการดูดซับน้ำและรักษา ความสมบูรณ์ของต้นน้ำจัดทำระบบการอนุรักษ์ดินและน้ำเพื่อป้องกันและลดการชะล้างพังทลายของหน้าดิน

ดูข้อมูล
 
 

ข้อมูลสภาพการณ์ความเสี่ยง (Risk Profile) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของจังหวัด
 
ข้อมูลฐานพื้นที่

ข้อมูลฐานพื้นที่

(1) ข้อมูลพื้นฐานพื้นที่_ชลบุรี.xlsx

แบบประเมินรายการความเสี่ยง

แบบประเมินรายการความเสี่ยง

(2) แบบประเมินรายการความเสี่ยง_ชลบุรี.xlsx

Risk Profile Checklist

Risk Profile Checklist

(3) Risk Profile Checklist_ชลบุรี.xlsx