หน้าหลัก
E-Platform
Guest   
ขอนแก่น
ปีฐาน : 2562

 

ข้อมูลสภาพการณ์ความเสี่ยง (Risk Profile) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของจังหวัด
 

การวิเคราะห์ห่วงโซ่ผลกระทบ (Impact Chain Analysis)


ตารางความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขา

ตารางแสดงความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขาทั้งหมด

   
 
 
โครงการ / เรื่อง

ด้านที่ 1

ด้านที่ 2

ด้านที่ 3

ด้านที่ 4

ด้านที่ 5

ด้านที่ 6
จัดการ

5. สร้างความตระหนักรู้ให้แก่ชุมชนและภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเข้าใจถึง ความเสี่ยงและผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งเสริมสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับทางเลือกต่าง ๆในการปรับตัว ต่อผลกระทบของชุมชนในพื้นที่เสี่ยง

ดูข้อมูล

4. สนับสนุนให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้มีรายได้น้อยที่ได้รับผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

3. พัฒนาศักยภาพของชุมชนในการเฝ้าระวัง แจ้งเตือนภัยเผชิญภัย ระงับภัย

ดูข้อมูล

2. เพิ่มขีดความสามารถของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน การเตรียมความพร้อมและบริหารจัดการความเสี่ยงจากผลกระทบ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

1. ผลักดันให้ท้องถิ่นบูรณาการประเด็นด้านการปรับตัวและรับมือกับ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เข้ากับแผนและ ยุทธศาสตร์การพัฒนาเมือง ชุมชน และท้องถิ่น

ดูข้อมูล

8. ส่งเสริมให้ภาคเอกชนมีบทบาทในการดำเนินมาตรการรับมือและ จัดการความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศผ่านกลไกทางการเงิน

ดูข้อมูล

7. ผลักดันให้โครงการลงทุนขนาดใหญ่ของภาครัฐต้องจัดทำการ วิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

6. พัฒนาและจัดทำแผนในการสำรองระบบที่มีความจำเป็นในการ ดำรงชีวิตในกรณีเกิดภัยพิบัติหรือภาวะวิกฤติ

ดูข้อมูล

5. ส่งเสริมการพัฒนาสิ่งปลูกสร้างที่ใช้แนวคิดเรื่องสถาปัตยกรรมที่ สอดคล้องกับสภาพอากาศ (Climate resilience architecture)

ดูข้อมูล

4. บูรณาการประเด็นด้านการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศเข้ากับการจัดทำผังเมืองในทุกระดับ

ดูข้อมูล

3. ผลักดันให้มีการผนวกรวมประเด็นเรื่องของสิ่งปลูกสร้างที่ สอดคล้องกับสภาพอากาศ (Climate resilience building) เป็นมาตรฐานและหลักเกณฑ์ในการออกแบบก่อสร้างอาคาร ภายใต้พรบ.ควบคุมอาคาร พ.ศ.2522

ดูข้อมูล

2. พัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพระบบการแจ้งเตือนภัยล่วงหน้า (Early warning system)และข้อมูลความเสี่ยงต่อภัยพิบัติในระดับชุมชน ที่ประชาชนสามารถเข้าถึงได้

ดูข้อมูล

1. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็นและมีความหลากหลายในการ รองรับภาวะฉุกเฉินอันเนื่องมาจากภัยธรรมชาติในทุกพื้นที่เสี่ยง

ดูข้อมูล

6. สร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศและเพิ่มขีดความสามารถให้กับทุกภาคส่วนที่ เกี่ยวข้องโดยใช้หลักการปรับตัวโดยอาศัยระบบนิเวศ (Ecosystem-based Adaptation หรือ EbA) ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และการใช้ความหลากหลายทางชีวภาพและประโยชน์ต่างๆ จากระบบนิเวศ

ดูข้อมูล

5. สร้างเครือข่ายการเฝ้าระวังและติดตามตัวชี้วัดความสมบูรณ์ของ ระบบนิเวศ (Biological indicators)

ดูข้อมูล

4. พัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดไฟป่าโดยสร้างการมี ส่วนร่วมของชุมชน

ดูข้อมูล

3. ส่งเสริมความร่วมมือจากภาคเอกชนและภาค ประชาชนใน การสงวนรักษาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและความ หลากหลายทางชีวภาพผ่านแนวทางการดำเนินธุรกิจด้วย ความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR)

ดูข้อมูล

2. ส่งเสริมและพัฒนาชุมชนที่มีวิถีชีวิตเชิงนิเวศ (Eco - villages)

ดูข้อมูล

1. พัฒนากลไกที่ช่วยส่งเสริมบทบาทของชุมชนที่มีวิถีชีวิตเชิง นิเวศในการสงวนรักษาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนิเวศ และความหลากหลายทางชีวภาพ

ดูข้อมูล

7. พัฒนาระบบติดตามและประเมินตัวชี้วัดความสมบูรณ์ของระบบนิเวศ (Biological indicators) ของระบบนิเวศต่าง ๆ

ดูข้อมูล

6. พัฒนาระบบฐานข้อมูล การคาดการณ์ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศต่อระบบนิเวศและทรัพยากรธรรมชาติ

ดูข้อมูล

5. ผลักดันการประกาศเขตคุ้มครองในพื้นที่มีความเปราะบางเชิงนิเวศ และเสี่ยง ต่อการถูกคุกคามความหลากหลายทางชีวภาพที่อยู่นอกเขตป่าอนุรักษ์

ดูข้อมูล

4. สนับสนุนและส่งเสริมกลไกการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติและความ หลากหลายทางชีวภาพในระบบนิเวศต่าง ๆ

ดูข้อมูล

3. สนับสนุนการอนุรักษ์ชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่น และชนิดพันธุ์ที่ใกล้สูญพันธุ์ ซึ่งได้รับ ผลกระทบจาก การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

2. สนับสนุนการปลูกป่าและเพิ่มพื้นที่ป่า ในพื้นที่ป่าที่ถูกบุกรุกหรือทำลาย ป่า ต้นน้ำที่เสื่อมโทรม หรือพื้นที่ว่างนอกเขตป่าธรรมชาติ

ดูข้อมูล

1. สงวนและคุ้มครองพื้นที่ป่าอนุรักษ์ที่ยังคงมีสภาพป่าสมบูรณ์ โดยให้ความสำคัญ กับการอนุรักษ์และบริหารจัดการกลุ่มป่า การปลูกป่าเป็นแนวเชื่อมต่อระหว่าง ป่า (Ecological corridor) การปลูกป่าเป็นแนวกันชน (Buffer)

ดูข้อมูล

4. พัฒนาขีดความสามารถของหน่วยงานและบุคลากรสาธารณสุข ในการลดและแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพอันเนื่องมาจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

3. พัฒนาต้นแบบโรงพยาบาลในการลดและจัดการความเสี่ยงต่อ สุขภาพที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศในระดับพื้นที่

ดูข้อมูล

2. วิจัยและพัฒนามาตรฐานการรักษา และระบบบริการสาธารณสุข เพื่อรับมือกับสถานการณ์ผลกระทบต่อสุขภาพ

ดูข้อมูล

1. ปรับปรุงระบบประกันสุขภาพให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพ ครอบคลุมประชากรกลุ่มเสี่ยงที่มีความอ่อนไหวต่อปัจจัยทาง ภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

5. เสริมสร้างศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขในทุกระดับเพื่อรับมือ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในเชิงรุก

ดูข้อมูล

4. พัฒนากลไกความร่วมมือทุกภาคส่วน ทั้งในและนอกระบบ สาธารณสุข

ดูข้อมูล

3. ป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพของชุมชนในพื้นที่เสี่ยงและประชากรกลุ่มเสี่ยง

ดูข้อมูล

2. พัฒนางานวิจัย องค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมในการลดและ จัดการความเสี่ยงต่อสุขภาพที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

1. พัฒนาระบบและกลไกการเฝ้าระวัง ระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ และ พัฒนาแผนที่เสี่ยงด้านสุขภาพและผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

7. สร้างภาพลักษณ์และสนับสนุนการท่องเที่ยว การส่งเสริม CBT และ BCG Model

ดูข้อมูล

6. สนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และการเพิ่ม Land mark

ดูข้อมูล

5. ส่งเสริมระบบขนส่งสาธารณะและการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว

ดูข้อมูล

4. เพิ่มขีดความสามารถของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน การจัดการรูปแบบการท่องเที่ยวเพื่อรับมือต่อการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

3. พัฒนาและส่งเสริมพื้นที่ท่องเที่ยวในพื้นที่เสี่ยง ให้เป็นธุรกิจ ท่องเที่ยว

ดูข้อมูล

2. พัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวในรูปแบบที่หลากหลายเพื่อ สนับสนุนการเพิ่มภูมิคุ้มกันและลดความเสี่ยงต่อผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในพื้นที่ท่องเที่ยวที่มีศักยภาพ

ดูข้อมูล

1. พัฒนารูปแบบการท่องเที่ยวในพื้นที่เสี่ยง ที่คำนึงถึงศักยภาพในการ รองรับของพื้นที่ (Carrying capacity) ที่เหมาะสมกับสภาพของ อากาศที่เปลี่ยนแปลงไป

ดูข้อมูล

8. การจัดการความปลอดภัยให้นักท่องเที่ยวจากอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากภัยพิบัติ

ดูข้อมูล

7. พัฒนารูปแบบหรือแผนการการป้องกันสถานที่ท่องเที่ยว ไม่ให้รับผลกระทบจากภัยพิบัติ

ดูข้อมูล

6. การแก้ไขปัญหาสภาพแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยว

ดูข้อมูล

5. สร้างความตระหนักและเสริมสร้างขีดความสามารถของ ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในการลดผลกระทบ และรับมือกับความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

4. สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังและแจ้งเตือนภัยด้านการท่องเที่ยวใน การรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

3. ปรับปรุงปฏิทินการท่องเที่ยวให้สอดคล้องกับฤดูกาลที่ เปลี่ยนแปลงไป

ดูข้อมูล

2. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของแหล่งท่องเที่ยวที่สอดคล้องกับ ระบบนิเวศและวัฒนธรรมท้องถิ่น

ดูข้อมูล

1. จัดทำแผนที่เสี่ยงจากภัยพิบัติและการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศของแหล่งท่องเที่ยว และพัฒนาระบบเตือนภัยพิบัติ ที่มีประสิทธิภาพ

ดูข้อมูล

9. วิจัยพัฒนาและส่งเสริมเทคโนโลยีเพื่อจัดการปัญหาโรค ระบาดในพืชและสัตว์

ดูข้อมูล

8. วิจัยพัฒนาและส่งเสริมเทคโนโลยีเพื่อจัดการปัญหาด้าน ปริมาณและคุณภาพของผลผลิตทางด้านเกษตร รวมถึง ปศุสัตว์

ดูข้อมูล

7. สนับสนุนการวิจัยพัฒนาและส่งเสริมเทคโนโลยีเพื่อลด การสูญเสีย (Food loss food waste) ของผลผลิต การเกษตร

ดูข้อมูล

6. พัฒนาระบบการสำรองอาหารระดับจังหวัดพร้อมทั้งกลไกการ กระจายอาหารที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งแผนการป้องกันการ ขาดแคลนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมอาหาร

ดูข้อมูล

5. ส่งเสริมการจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจ (Agro – Economic Zone) ที่มีความเหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่

ดูข้อมูล

4. ส่งเสริมการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และบำรุงรักษาความอุดมสมบูรณ์ ของดินในพื้นที่เกษตรกรรมที่มีความเสื่อมโทรมของดิน

ดูข้อมูล

3. พัฒนาแหล่งน้ำในพื้นที่เกษตรกรรมนอกเขตชลประทานให้มี ประสิทธิภาพและเพียงพอต่อความต้องการใช้การเพาะปลูก และการทำปศุสัตว์

ดูข้อมูล

2. พัฒนาและปรับปรุงการจัดการน้ำของพื้นที่เกษตรกรรมใน เขตชลประทานที่มีความเสี่ยงต่อการได้รับผลกระทบจาก อุทกภัยและภัยแล้งให้มีประสิทธิภาพ

ดูข้อมูล

1. พัฒนาการทำการเกษตรแม่นยำสูง (Precision farming) ให้มีต้นทุนที่ลดลง

ดูข้อมูล

9. สร้างความตระหนักรู้ต่อเกษตรกรถึงผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคเกษตร และพัฒนาศักยภาพใน การรับมือและจัดการความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

8. สนับสนุนการสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการเกษตรในการ ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

7. พัฒนาการจัดการประมงให้สอดคล้องกับแนวโน้มของการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

6. พัฒนาการจัดการระบบปศุสัตว์และการผลิตสินค้าจากปศุสัตว์ให้ สอดคล้องกับแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

5. ส่งเสริมการปรับปรุงพันธุ์พืช/พันธุ์สัตว์ และสนับสนุนการเข้าถึง ของเกษตรกรให้สามารถใช้พันธุ์พืช/พันธุ์สัตว์ที่เหมาะสมต่อการ เปลี่ยนแปลงของปัจจัยทางภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

4. ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนรูปแบบการทำการเกษตรให้สอดคล้องกับ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ดูข้อมูล

3. จัดทำแผนที่พื้นที่เกษตรเสี่ยงภัยและคาดการณ์ผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในระดับพื้นที่ และเผยแพร่ให้ เกษตรกรสามารถเข้าถึงข้อมูลและใช้ประโยชน์ได้

ดูข้อมูล

2. พัฒนาระบบประกันภัยหรือการประกันความเสี่ยงจากสภาพ ภูมิอากาศต่อผลผลิตทางการเกษตรที่เหมาะสม

ดูข้อมูล

1. พัฒนาระบบข้อมูลเตือนภัยล่วงหน้า (Early warning system) ทางการเกษตร

ดูข้อมูล

9. พัฒนาระบบการช่วยเหลือ ชดเชย หรือระบบประกันภัยพิบัติ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการน้ำ

ดูข้อมูล

8. จัดทำแผนป้องกันและลดมลพิษในกรณีอุทกภัยในพื้นที่เสี่ยง

ดูข้อมูล

7. เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน้ำใต้ดินร่วมกับการใช้น้ำผิวดิน ในพื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง ตามศักยภาพของลุ่มน้ำ

ดูข้อมูล

6. สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังภัยพิบัติในพื้นที่เสี่ยง

ดูข้อมูล

5. พัฒนาระบบการพยากรณ์สถานการณ์น้ำและเตือนภัย ล่วงหน้า (Early warning system) ให้มีความถูกต้องแม่นยำ

ดูข้อมูล

4. ส่งเสริมการพัฒนาและใช้เทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียเพื่อนำ น้ำหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ ในภาคครัวเรือนและ อุตสาหกรรม

ดูข้อมูล

3. เพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการปัญหา สถานการณ์ภัยแล้ง และ การเปลี่ยนแปลงของน้ำท่าจากการกระทำของมนุษย์

ดูข้อมูล

2. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสำหรับสำรองน้ำฝน และจัดสรรน้ำ ในพื้นที่ประสบภัยแล้งซ้ำซาก พื้นที่นอกเขตชลประทาน และพื้นที่ที่ยังใช้น้ำบาดาล

ดูข้อมูล

1. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในการเตรียมรับมือกับอุทกภัยที่มี ความสอดคล้องและเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ระบบนิเวศ และชุมชน

ดูข้อมูล

6. การรักษาคุณภาพน้ำ เพื่อใช้ในการการอุปโภคและบริโภค ให้ มีความสะอาด มีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐาน

ดูข้อมูล

5. ผลักดันการดำเนินงานภายใต้กลไกความร่วมมือในการ บริหารจัดการน้ำในลุ่มน้ำที่มีความสำคัญในระดับนานาชาติ อย่างต่อเนื่อง

ดูข้อมูล

4. เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน้ำต้นทุนและแหล่งกักเก็บน้ำ

ดูข้อมูล

3. ส่งเสริมให้เกิดการผสานภูมิปัญญาท้องถิ่นร่วมกับการจัดการ น้ำโดยใช้นวัตกรรม ที่เหมาะสมกับการบริหารจัดการน้ำตาม บริบทของแต่ละภูมิภาค

ดูข้อมูล

2. ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายและวาง แผนการใช้ประโยชน์ที่ดิน การจัดการน้ำและป่าในแต่ละลุ่มน้ำ

ดูข้อมูล

1. พัฒนาการจัดทำ Water footprint และระบบฐานข้อมูล เกี่ยวกับปริมาณน้ำต้นทุนและความต้องการใช้น้ำของผู้ใช้น้ำ ในภาคส่วนต่าง ๆ

ดูข้อมูล
 
 

ข้อมูลสภาพการณ์ความเสี่ยง (Risk Profile) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของจังหวัด
 
ข้อมูลฐานพื้นที่

ข้อมูลฐานพื้นที่

1. ข้อมูลพื้นฐานพื้นที่_ขอนแก่น.xlsx

แบบประเมินรายการความเสี่ยง

แบบประเมินรายการความเสี่ยง

2. แบบประเมินรายการความเสี่ยง_ขอนแก่น.xlsx

Risk Profile Checklist

Risk Profile Checklist

3. Risk Profile Checklist_ขอนแก่น.xlsx